ระบบการควบคุมป้องกันโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการควบคุมป้องกันโรค ทบทวนแผนงานโครงการ ระบบการควบคุมป้องกันโรค กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.เชียงใหม่ 8 พค. 2558

บริบทจังหวัดเชียงใหม่ 5 อำเภอชายแดน 3 ช่องผ่านทาง(ด่านเก่า) ปัจจัยเอื้อต่อการระบาดของโรค N มีช่องทางเข้าออกหลายทาง มีผู้เดินทางเข้าออกตลอดเวลา มีประชากรแฝงจำนวนมาก นร.นศ. นักธุรกิจ แรงงานย้ายถิ่น แรงงานเพื่อนบ้าน นักท่องเที่ยว มีสถานประกอบการ สถานบันเทิงหนาแน่น มีโรงแรม หอพัก สถานศึกษา จำนวนมาก สายการบิน ในประเทศ 8 สาย ต่างประเทศ 18 สาย เฉลี่ย 140 เที่ยวต่อวัน (ไป-กลับ) ผู้โดยสารเฉลี่ย 18,599 คนต่อวัน

โรคติดต่อสำคัญและโรคที่มีการระบาดในช่วงปี 2557-58 มี ปชก.กลุ่มเสี่ยงสูง เข้าถึง ART ช้า(ผู้ป่วยร้อยละ 61.7 เริ่มยาต้านไวรัสที่ระดับ CD4<200) เอดส์ อาหารเป็นพิษ ข้าวมันไก่ -เลือดไก่ดิบปนเปื้อน -คุณภาพการปรุง ลาบดิบ หลู้ -อ.ป่วยปี58 = 200:แสน -อำเภอรอบเมืองมีการระบาดสูงกว่าค่าเฉลี่ย (หางดง สันทราย สันกำแพง ดอยสะเก็ด เมือง แม่ริม สารภี) -ร้อยละ 56 อายุ< 15 ปี อัตราการรักษาสำเร็จต่ำกว่าเป้าฯ (76.8%) เสียชีวิต 13.8% ขาดยา 6.7% มี MDR TB ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค ไข้เลือด ออก มาลาเรีย ผู้ป่วยสูงใน 5 อำเภอชายแดน แม่ริม อมก๋อย ผู้ป่วยต่างชาติข้ามแดน อ.ป่วยปี57= 43.1:แสน ปี58 อำเภอพบผู้ป่วยสูง5อันดับแรก แม่วาง เมือง สันป่าตอง สันกำแพง สันทราย

การตรวจราชการ ระบบการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่ได้มาตรฐาน การตรวจราชการ ระบบการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่ได้มาตรฐาน เป้าหมาย ประเด็น ความพร้อมในการตอบโต้สถานการณ์หรือภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ชายแดนและช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในชุมชนต่างด้าว 50%ของอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ ไข้เลือดออก,หัด 50% ของอำเภอชายแดนสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ชายแดน - มาเลเรีย จังหวัดมีการจัดทำฐานข้อมูลประชากรต่างด้าว และอบรมพัฒนา อสต. (ติดตาม ปี 59)

นโยบาย รัฐบาล : โครงการของขวัญสำหรับประชาชน โครงการรากฟันเทียมและฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการรณรงค์ให้วัคซีนคอตีบและหัดเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ โครงการทีมหมอประจำครอบครัว โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว โครงการ “สาธารณสุขรวมใจ มอบโลกสดใส เทิดไท้องค์ราชัน (ตรวจคัดกรองและผ่าตัดต้อกระจก) โครงการการจัดตั้ง Palliative care unit ในรพศ,รพท..รพช

กระบวนการหลักในการพัฒนาเมื่อต้นปี วิเคราะห์สถานการณ์ ส่วนขาด กำหนดประเด็นเร่งรัดปี58 ประเด็นร่วมทั้งจังหวัด ประเด็นเฉพาะพื้นที่ กำหนดกลวิธี และบริการที่จำเป็น จัดทำโครงการแก้ไขส่วนขาด

กรอบการจัดทำโครงการ การป้องกันควบคุมโรค ปี 2558 เสนอต่อที่ประชุมแผนเมื่อ 17 ก.ย. 2557 กลุ่มโครงการ A ทุกอำเภอ เฝ้าระวัง - เป็นปัญหาทั้งจังหวัด - เป็นประเด็นที่ต้องพัฒนาไปด้วยกันทั้งจังหวัด - เป็นประเด็นร่วมที่เชื่อมโยงสู่ปัญหาหลายปัญหา ลดความเสี่ยง ป้องกันโรค ควบคุมโรค กลุ่มโครงการ B บางอำเภอ รักษาพยาบาล เป็นโครงการเพื่อแก้ปัญหาที่มีในบางอำเภอ เป็นโครงการเพื่อพัฒนางานบางประเด็นให้ดีขึ้น เป็นโครงการนำร่อง เพื่อหาแนวทางใหม่ ฟื้นฟู ลดผลกระทบ

งานในแผนงานโครงการ กลุ่มA งานEPI และการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน งานวัณโรค และ เอดส์ ไข้เลือดออก โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ NCD เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือด มะเร็ง ปอดอุดกั้น การป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล (IC) การควบคุมการบริโภคบุหรี่ แอลกอฮอล์ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง (บูรณาการDHS) มาตรฐานSRRT ,ระบบ ICS โรคระบาดและสาธารณภัย

งานในแผนงานโครงการกลุ่ม B การป้องกันควบคุมโรคเฉพาะพื้นที่ มาเลเรีย อาหารเป็นพิษ หนอนพยาธิ เรื้อน พิษสุนัขบ้า โครงการต่างด้าวฯลฯ 2. การควบคุมการบริโภคบุหรี่ แอลกอฮอล์โดยเฉพาะมาตรการทางกฎหมาย ฝาง แม่อาย แม่ริม เมือง สันทราย สันกำแพง สารภี จอมทอง บริการคัดกรองเอชไอวีเชิงรุก แบบแจ้งผลวันเดียวในกลุ่มประชากรเฉพาะ -แม่อาย ฝาง ไชยปราการ เชียงดาว แม่แตง แม่ริม เมือง หางดง สารภี สันป่าตอง 4. การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค อำเภอที่มีศูนย์เด็กผ่านการประเมินศูนย์เด็กปลอดโรค น้อยกว่าร้อยละ 50

ทบทวนการดำเนินงาน โครงการ ดังต่อไปนี้ งานเร่งรัดตามปัญหาของจังหวัด(งานกลุ่มA) งานเพื่อบรรลุตัวชี้วัดตรวจราชการปี58 งานเร่งรัดตามนโยบายรัฐมนตรีปี58 งานระบาด SRRT ระบบ ICS บุหรี่-สุรา โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ / IC NCD - เบาหวาน ความดัน ไข้เลือดออก Malaria ยาเสพติด TB HIV อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง EPI มาตรฐาน วัคซีนคอตีบ-หัด

งานระบาด SRRT ระบบICS(โรคระบาด) แผนที่กำหนดไว้ สถานการณ์ครึ่งปีแรก การดำเนินงานต่อไป 1. อบรมระบาดฯก่อนปฏิบัติการ 2. อบรมการสอบสวนอุบัติเหตุจราจร 3.Dead case conference 4. พัฒนาระบบ ICS 5. ประกวดระบบระบาดวิทยาดีเด่น 6.ประชุมเครือข่าย SRRT อาหารเป็นพิษ มค.-พค. 20 outbreaks ใน 15อำเภอ มค-มีค. ไข้หวัดใหญ่ เชียงใหม่ อ.เมือง และรอบใน เสียชีวิตจากเครื่องทำน้ำอุ่น 3 ราย แม่อาย จอมทอง พร้าว จัดกิจกรรมตามแผน อำเภอทบทวนคณะทำงาน ICS ทบทวนบทบาท SRRT เมื่อเกิดอุบัติภัย ภัยพิบัติ ประเมินอ.ควบคุมโรคเข้มแข็ง/มาตรฐาน SRRT/ระบบระบาด

โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ IC แผนที่กำหนดไว้ สถานการณ์ครึ่งปีแรก การดำเนินงานต่อไป -อบรมบุคลากร -ซ้อมแผน อีโบล่าระดับจังหวัด ,อำเภอ -จัดระบบรองรับการระบาดแบบบูรณาการ -ประชุมเชิงปฏิบัติการIC แก่จนท.รพสต. - รพช.นิเทศ ICรพสต. -อีโบล่า ระบาด ที่อาฟริกาต่อเนื่องถึงปัจจุบัน - MERS CoV ระบาดตะวันออกกลาง - ไข้หวัดใหญ่ เชียงใหม่ อ.เมือง และรอบในมค-มีค. - ทบทวนระบบรองรับการระบาดแบบบูรณาการทุกระดับ -รพ. ประเมินระบบงาน IC - ติดตาม งานIC ของ รพสต.

ไข้เลือดออก การดำเนินงานต่อไป แผนที่กำหนดไว้ สถานการณ์ครึ่งปี อำเภอจัดประชุมซักซ้อมความพร้อมระบบควบคุมโรคและการรักษา รพสต. ประชุมผู้นำชุมชน mapping พื้นที่เสี่ยงและความพร้อม ของ อสม. ตรวจสอบความพร้อมวัสดุ เวชภัณฑ์ควบคุมโรคทุกตำบล 1. ประกวดหมู่บ้าน วัด โรงเรียน ปลอดลูกน้ำ 2. อบรมเครื่องพ่น 3. อบรม อสม.เชี่ยวชาญ 4. สุ่มสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ 5. เตรียมวัสดุ เวชภัณฑ์ควบคุมโรค 6. รณรงค์สร้างกระแส อำเภอที่มีหมู่บ้านเกิดโรค 2 nd gen 4แห่งคือ หางดง เมือง ฮอด ดอยสะเก็ด(ตค.-เมย.) วัด โรงเรียน หมู่บ้าน ยังมี HI > 10 และ CI ไม่เป็น 0

ยังไม่มีการเกิดโรคใน 2 nd generation ใน 5 อำเภอชายแดน Malaria - อำเภอชายแดน แผนที่กำหนดไว้ สถานการณ์ครึ่งปี การดำเนินงานต่อไป 1. แจกมุ้ง สารทาป้องกันยุงกัด 2. อบรม MPW /BMPW /MLO / VHV เวียงแหง เชียงดาว อมก๋อย ดอยเต่า 3 ประชุมผู้ประสานงาน 5อำเภอ 4. รพสต.ใน 5 อำเภอชายแดนใช้rapid test คัดกรอง 5 รณรงค์วันมาลาเรียโลกที่อำเภออมก๋อย ยังไม่มีการเกิดโรคใน 2 nd generation ใน 5 อำเภอชายแดน 1 อำเภอรับการจัดสรรสิ่งสนับสนุนรอบ 2 (พ.ค.) 2. อบรม VHV ใน 5 อำเภอชายแดน 3. พัฒนาระบบการติดตามผู้ป่วย 5 ครั้งหลัง D/C

-พัฒนาบริการตามมาตรการเร่งรัด TB แผนที่กำหนดไว้ เร่งรัดคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อHIV (CXR ปีละ2ครั้ง) และ ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง เพิ่มมาตรการ DOTโดย จนท.สธ. -ผู้ป่วยวัณโรคทุกคนต้องมีจนท.สธ.รับผิดชอบ - ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยให้จนท.สธ.ในพื้นที่ภูมิลำเนาผู้ป่วย 3. Case conferences ดำเนินการมาตรการเร่งรัด พัฒนาระบบเฝ้าระวังและการดูแลวัณโรคดื้อยา ขยายอำเภอที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวัณโรค พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชน ขยายพื้นที่ต้นแบบการมีส่วนร่วม (แม่อาย แม่วาง) การดำเนินงานต่อไป -พัฒนาบริการตามมาตรการเร่งรัด

HIV/AIDS การดำเนินงานต่อไป แผนที่กำหนดไว้ ประชุม เครือข่าย CO ดำเนินการต่อตามแผนที่กำหนดไว้ รพ.สต.ที่ได้รับการอบรมแล้ว จัดบริการ ปรึกษาตรวจ HIV รพ.จัดทำแผนพัฒนาบริการตามส่วนขาด ประชุม เครือข่าย CO อบรม HIV VCT แบบแจ้งผลวันเดียวแก่ รพสต. พัฒนาการลด Stigma พัฒนาบริการให้เข้าถึงประชากรที่เสี่ยง (MSM,IDU,SW,Migrant) เฝ้าระวังพฤติกรรมและการติดเชื้อ HIV พัฒนาระบบบริการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาต้านไวรัสที่ CD4 สูงขึ้นและลดการเสียชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับยาต้าน พัฒนาระบบบริการในเรือนจำ

EPI มาตรฐาน วัคซีนคอตีบ-หัด แผนที่กำหนดไว้ สถานการณ์ครึ่งปี การดำเนินงานต่อไป 1.รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ/หัด 2. อบรมพัฒนาศักยภาพผู้นิเทศงาน EPI ระดับอำเภอ 3. นิเทศ ประเมินมาตรฐาน EPI ทั้ง 3 มาตรฐาน 1. ผลงานรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ 40% ( 85%) 2. นิเทศติดตามมาตรฐาน EPI ทั้ง3 ด้าน 4 แห่ง 3. อัตราป่วยโรคหัด 0.54 (9 ราย) 1. ขยายการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ถึงเดือนกรกฎาคม 2. รณรงค์ให้วัคซีนหัด (พ.ค. – ก.ย.) 3. พัฒนางาน EPI ตามส่วนขาดให้ผ่านมาตรฐาน 4. ส่ง จนท.เข้าอบรม EPI เบื้องต้นจากสถาบันวัคซีน

NCD (เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือด) แผนที่กำหนดไว้ การดำเนินงานต่อไป ดำเนินการต่อตามแผน เพิ่มมาตรการตามนโยบายลดความแออัด ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันฯ ที่โรงพยาบาล เป้าหมายทั้งจังหวัด ผู้ป่วยเบาหวาน, ความดันฯ ในเขตรับผิดชอบรพสต. รับบริการที่รพสต. ต่อ รพช.ใน อัตราส่วน 60:40 อำเภอตั้งทีมพัฒนาและประเมิน งาน NCD คุณภาพ กิจกรรมตามแผน SP กิจกรรมตามแผนกองทุนโรคเรื้อรัง กิจกรรมตามแผนกองทุนสุขภาพตำบล กิจกรรมตามแผนสุขภาพดีวิถีไทย

ยาเสพติด การดำเนินงานต่อไป แผนที่กำหนดไว้ ประชุมยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการจังหวัด ประชุมชี้แจงแนวทางการแก้ไขปัญหาผู้เสพผู้ติดและการคืนสู่สังคม อบรม “ระบบ รง. บสต.” อบรม “วิทยากรค่ายยาเสพติด มาตรฐานใหม่” จัดตั้ง ศูนย์เพื่อการคัดกรองทุกอำเภอ ประเมิน HA ยาเสพติด 7รพ. เปิดศูนย์คัดกรองฯ 24 ชั่วโมง (ผอ.รพ.เป็นประธาน) ทุกอำเภอจัดประชุม ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะปกครอง ตำรวจ เรื่องข้อปฏิบัติของศูนย์คัดกรอง รณรงค์ ให้ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด เข้ารับการบำบัด แบบสมัครใจ จัดระบบรองรับการคืนคนดีสู่สังคม อบรม การติดตามผู้ผ่านการบำบัดฯ ปรับทัศนคติ ของชุมชน สมัครใจ เป้า 1560 ราย ผลงาน 533 ราย คิดเป็น 34.17 % บังคับบำบัด เป้า 825 ราย ผลงาน 443 ราย คิดเป็น 77.94 %

อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แผนที่กำหนดไว้ การดำเนินงานต่อไป อำเภอประเมินตนเองรอบที่ 1 ผ่านทั้งหมด16 อำเภอ ทีมจังหวัดนิเทศทุกอำเภอ 11-22 พ.ค สคร.10ประเมินรับรอง 10 อำเภอวันที่16-17-29 ก.ค อำเภอประเมินตนเอง รอบที่ 2 ส.ค 58 คัดเลือกอำเภอเพื่อประเมินรับรองโดย สคร.10 อำเภอเตรียมเอกสารหลักฐานเตรียมนิเทศ และประเมินรับรอง และประเมินตนเองรองที่ 2