โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประวัติความเป็นมาของบ้านจำนัก
Advertisements

อุทิศตน พัฒนาคน สร้างชุมชนอย่างยั่งยืน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน : แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
อาณาเขต ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 15.5 ไร่ ทิศเหนือจรดคลอง บางเขน ทิศใต้จรดถนนงาม วงศ์วาน ทิศตะวันออกจรดคลอง เปรมประชากร ทิศตะวันตกจรดติดที่ดิน เอกชน.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
ตำบลดอนเงิน อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านดอนยม หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขอนยาง
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น บ้านปอแดง หมู่6 ต. ขามเฒ่าพัฒนา อ
ข้อมูลท้องถิ่นบ้านขิงแคง
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลป่าสัก อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย สุนทร วิเลิศสัก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
โรงเรียนเทียมนคร วิทยา สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครราชสีมา เขต ๒.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
ข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการทำงานตามระบบการส่งเสริมมิติใหม่ (MRCF)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพร้าว
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
ตำบลหินเหล็กไฟ ประวัติความเป็นมา พื้นที่ เขตพื้นที่
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
แนวทางการประเมินรับรองคุณภาพมาตรฐาน รพ. สต
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง หมู่ที่7บ.โคกก่อง ต.หนองแดง อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม

ประวัติหมู่บ้าน บ้านโคกก่องแยกการปกครองออกมาจากบ้านสำโรงเมื่อ พ.ศ. 2519 ปัจจุบันเป็น 1 ใน 10 ของตำบลหนองแดง ประกอบไปด้วย 10 หมู่บ้านและมีผู้ใหญ่บ้านดังนี้ 1. บ้านหนองแดง หมู่ที่ 1 นายชัย ปะผาลา ผู้ใหญ่บ้าน 2. บ้านนาด่าน หมู่ที่ 2 นายสำลี ประทุมนอก ผู้ใหญ่บ้าน 3. บ้านดอนแฮด หมู่ที่ 3 นายสุวรรณ จันทะปาขาว ผู้ใหญ่บ้าน 4. บ้านเก่าใหญ่ หมู่ที่ 4 นายชิด จันทจร ผู้ใหญ่บ้าน 5. บ้านโนนสะอาด หมู่ที่ 5 นายจำกัด วงศ์คำจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน

6. บ้านวังหิน หมู่ที่ 6 นายบุญจันทร์ พลสอน ผู้ใหญ่บ้าน 7. บ้านโคกก่อง หมู่ที่ 7 นายคำมูล แทนหลาบ ผู้ใหญ่บ้าน 8. บ้านโคกสูง หมู่ที่ 8 นายมนูญ ปิตตาระโพธิ์ ผู้ใหญ่บ้าน 9. บ้านหนองแต้ หมู่ที่ 9 นายเคน เศษอ่อน ผู้ใหญ่บ้าน 10. บ้านหนองแดงสหมิตร หมู่ที่ 10 นายน้อย สุรีรัตน์ ผู้ใหญ่บ้าน สภาพทั่วไป สภาพพื้นที่เป็นที่ราบสูงแบบลูกคลื่น ดินส่วนใหญ่เป็นดินปนทราย ส่วนมากเป็นที่นาไร่ พื้นที่ทั้งหมด 890 ไร่

อาณาเขต ทิศเหนือ ติตต่อกับ ต.เลิงแฝก กิ่ง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ปอพาน อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.สำโรง อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.เปือยน้อย อ.เปือยน้อย จ.ขอนแก่น จำนวนประชากร รวมทั้งหมด 498 คน ชาย 253 คน หญิง 245 คน และมีบ้าน 101 หลังคาเรือน

อาชีพ อาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม ทำไร่ เลี้ยงสัตว์ รับจ้าง อุตสาหกรรมในครัวเรือน สถานที่สำคัญ องค์การบริหารส่วนตำบล ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง

แผนที่เส้นทางไปศูนย์ศิลปาชีพ จ. มหาสารคาม 30 กม. อ.บรบือ 32 กม. ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง อ.นาเชือก 18 กม.

ประวัติศูนย์ศิลปาชีพ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2535 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรบ้านโคกก่อง ต.หนองแดง อ.นาเชือก จ.มหาสารคามทรงทราบ ถึงความเดือดร้อนอันเนื่องมาจากปัญหาการประกอบอาชีพ ซึ่งพื้นที่บริเวณบ้านโคกก่องและหมู่บ้านใกล้เคียงจะประสบปัญหาแห้งแล้ง การเพาะปลูกไม่ได้ผลเท่าที่ควร ราษฎรมีรายได้น้อยจึงทำให้เกิดปัญหาความยากจนตามมา พระองค์ทรงมีความห่วงใยในความเป็นอยู่ของราษฎรจึงทรงพระราชทานความช่วยเหลือโดยการจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพขึ้นในสถานที่บ้านโคกก่อง เมื่อ พ.ศ. 2537 เพื่อเป็นศูนย์กลางของตำบลหนองแดง และทรงพระราชทานเงินในการประกอบอาชีพเสริมรายได้ให้กับครอบครัว และทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้นำไปเป็นทุนในการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ทอผ้าไหม ทรงรับเข้าเป็นสมาชิกการทอผ้าไหม โดยให้การทอผ้าไหมส่งไปจำหน่ายที่ กองศิลปาชีพ สวนจิตรดา กรุงเทพมหานคร

การแบ่งประเภทของสมาชิก - กลุ่มทอผ้าไหม - กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม - กลุ่มแกะสลักไม้ - กลุ่มเขียนลาย - กลุ่มปักผ้า

-รายได้รวมของสมาชิกโครงการ 27,616,200 รายได้เฉลี่ย 64,075 บ./ค.ร. รายได้ของสมาชิก. -รายได้รวมของสมาชิกโครงการ 27,616,200 รายได้เฉลี่ย 64,075 บ./ค.ร. -รายได้เฉลี่ยเฉพาะงานศิลปาชีพ 3,468,200 รายได้เฉลี่ย 8,606 บ./ค.ร

กิจกรรมของกลุ่มสมาชิก - ต้อนรับผู้เยี่ยมชมโครงการ - พัฒนาทำความสะอาดภายในโครงการ - ทำบุญตักบาตร 12 สิงหา มหาราชินี - ประดับผ้าระบายศาลาทรงงาน - จำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหมอำเภอนาเชือก - ทำความสะอาดหน้าถนนโครงการ - ประกวดผ้าไหมอำเภอนาเชือก

ต้อนรับผู้เยี่ยมชมโครงการ

พัฒนาทำความสะอาดภายในโครงการ

ทำบุญตักบาตร 12 สิงหา มหาราชินี

ประดับผ้าระบายศาลาทรงงาน

จำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหม

ทำความสะอาดหน้าถนนโครงการ

ประกวดผ้าไหมอำเภอนาเชือก

ผลิตภัณฑ์การทอผ้าไหมของศูนย์ศิลปาชีพ ขั้นตอนการทอผ้าไหม 1. การเพาะตัวไหม 6. การมัดหมี่ 2. การเลี้ยงตัวไหม 7. การย้อมไหม 3. ระยะชักใยของตัวไหม 8. การทอผ้าไหม 4. การสาวไหม 9. ได้ผ้าไหมที่เสร็จสมบูรณ์ 5. วิธีฟอกไหม

การเพาะตัวไหม

การเลี้ยงตัวไหม

ระยะชักใยของตัวไหม

การสาวไหม

วิธีฟอกไหม

การมัดหมี่

การย้อมไหม

การทอผ้าไหม

ผ้าไหมสำเร็จรูป

จัดทำโดย นางสาวอรนุช บุตดีหงษ์ รหัส 444303139 นางสาวอรนุช บุตดีหงษ์ รหัส 444303139 โปรแกรมวิชาบรรณารักษ์ฯ 4.3