การยืดอายุการวางจำหน่าย ของ ข่าอ่อนพร้อมบริโภค ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี ….. นางอุบล ชิน วัง …..
ข่าอ่อนพร้อมบริโภค (Fresh-cut young galangal stem) ลักษณะของข่าอ่อนพร้อม บริโภค แหล่งปลูก การเสื่อมคุณภาพในระยะ หลังการเก็บเกี่ยว วิธีการชะลอการเสื่อม คุณภาพ เค้าโครงงานวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการเตรียมข่าอ่อน พร้อมบริโภค
แหล่งปลูกที่สำคัญ ตำบลห้วยขะยุง อำเภอวารินชำราบ จังหวัด อุบลราชธานี
การเสื่อมคุณภาพในระยะหลัง การเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนสีที่ผิดปกติ (Discoloration) บริเวณเหง้าที่ถูกตัดแต่ง การเหี่ยวเนื่องจากการสูญเสีย น้ำหนัก การเกิดอาการ Chilling injury การเกิดโรค
วิธีการชะลอการเสื่อมคุณภาพ ของพ่อค้ารับซื้อ / เกษตรกร สารละลายที่มีคุณสมบัติเป็นกรด เช่น ๏ สารส้ม …. ในอัตรา 25 กรัม / ลิตร แช่เป็นเวลา 1 คืน (10-12 ชั่วโมง ) ๏ โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ (Sodium metabisulfite ; SMS) ร่วมกับสารส้ม ……. แช่เป็นเวลา ชั่วโมง
เค้าโครงงานวิจัยสำหรับ วิทยานิพนธ์ 1. ระยะเวลาและความรุนแรงของการเกิด อาการ Discoloration ของข่าอ่อนพร้อมบริโภค 2. สาเหตุของอาการ Discoloration ที่เกิด ขึ้นกับข่าอ่อนพร้อมบริโภค 3. การลดอาการ Discoloration ของข่าอ่อน พร้อมบริโภค 3.1 ตามวิธีการใช้สารเคมีของพ่อค้ารับ ซื้อ / เกษตรกร 3.2 ทดสอบวิธีการอื่นที่ไม่ใช้สารเคมี เช่น Controlled หรือ Modified Atmospheres ร่วมกับการใช้ความ เย็น
การศึกษาระยะเวลาและความรุนแรง ของ อาการ Discoloration ข่าอ่อน : เหง้าเดี่ยว ( ไม่เข้ากำ ) ระยะเวลา : ภายใน 24 ชั่วโมง ( ทุกๆ 0.5 ชั่วโมง ในช่วงแรกภายหลัง การตัดแต่งเหง้า ทุกๆ 2-3 ชั่วโมง ในช่วงหลัง ) สภาพที่ทำการศึกษา : สภาพห้อง และ อุณหภูมิต่ำ (12-15 C) การบันทึกผล : 1) สีผิวของเหง้า โดยใช้ค่า ความสว่าง (L value) 2) น้ำหนักของกำข่าอ่อน
การศึกษาสาเหตุของอาการ Discoloration สมมุติฐาน : Oxidative reaction of enzymes e.g. Polyphenol Oxidase ก ) ปริมาณหรือกิจกรรมของเอนไซม์ที่พบ ตามธรรมชาติของข่าอ่อน ข ) ตำแหน่งต่างๆ ของเหง้าข่าอ่อนที่พบ เอนไซม์ ข่าอ่อน : ที่ผ่านการตัดแต่ง และที่ไม่ผ่าน การตัดแต่ง สภาพที่ทำการศึกษา : สภาพห้อง การบันทึกผล : 1) ปริมาณ หรือกิจกรรม ของ เอนไซม์ 2) สีผิวของเหง้า (L value)
การลดอาการ Discoloration ด้วยการใช้สารเคมี ประเด็นสำคัญ : อาจมีปริมาณของ SO 2 ตกค้างเกินกำหนด ข่าอ่อนพร้อมบริโภคที่ซื้อจากพ่อค้ารับ ซื้อและเกษตรกร ทดสอบหรือวิเคราะห์ปริมาณของ SO 2 ในระยะเวลาต่างๆ ภายหลังการเก็บรักษา
การลดอาการ Discoloration ด้วยการไม่ใช้สารเคมี ข่าอ่อนพร้อมบริโภคที่ซื้อจากพ่อค้ารับ ซื้อและเกษตรกร ทดสอบวิธีการอื่นที่ไม่ใช้สารเคมี เช่น ความร้อน Controlled หรือ Modified Atmospheres (CA or MA) ร่วมกับการใช้ความเย็น ( ห้องเย็น ถัง น้ำแข็ง น้ำแข็งแห้ง ) เช่น 1) บรรจุในถาดโฟมหุ้มด้วย plastic film 2) ถุงพลาสติกชนิดต่างๆ ขนาดบรรจุ 250 กรัม 3) Vacuum sealing