1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
โครงการ / กิจกรรม ประจำปี ๒๕๕๖ ฝ่ายพัฒนาการมีส่วนร่วม สำนักการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เลือกตั้ง มี ๔ โครงการ ( ๖ กิจกรรม ) ส่วนกลาง ดำเนินการเอง มี ๒ กิจกรรม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสทรงเจริญ พระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ปี
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย ประชากรกลุ่มอายุ ปี - Setting 3 ภาค ( เหนือ กลาง ใต้ รวม 57 จังหวัด ) - เครือข่าย กระทรวงมหาดไทย ( ผู้ว่าราชการจังหวัด ) ทบวงมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาต่างๆ NGO เช่น โรตารี่ ให้การสนับสนุนงบประชาสัมพันธ์ ภาคเอกชน เช่น รพ. เอกชน ศูนย์การค้า ตลาด กระทรวงแรงงาน ( แรงงานจังหวัด ) กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงกลาโหมได้แก่ รพ. ค่ายทหาร กระทรวงยุติธรรม ( เรือนจำ )

1.2 โรคหัด - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ใน ประชากรเป้าหมายไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ทุก จังหวัด - เป้าหมาย เด็กที่เกิดตั้งแต่ มิ. ย. 51 – 31 มค. 55 (2.5-7 ปี ) - Setting ทั่วประเทศ - เครือข่าย กระทรวงศึกษาธิการ ( โรงเรียนอนุบาล, โรงเรียน ประถมที่เปิดชั้นอนุบาล ) โรงพยาบาลค่าย อปท ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ) ศูนย์สาธารณสุขของเทศบาล

ข้อตกลงเพื่อบรรลุตัวชี้วัด โรคคอตีบ + โรคหัด 1. แจ้งและประสานเครือข่าย ( สคร. และสสจ. จัด ประชุมชี้แจงเครือข่าย ) ( สสจ. สสอ. รพ. รพ. สต.) 2. จัดทำสื่อ / ประชาสัมพันธ์ ส่วนกลาง airwar สคร.(Ground war) ได้แก่ จัดทำสื่อต้นแบบ แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ /CD 3. สสจ. แต่งตั้งคณะทำงานหรือคณะกรรมการที่ รับผิดชอบโครงการรณรงค์ ( แจ้งผู้บริหารในเวที เขตบริการสุขภาพ ) 4. สสจ. มีการสำรวจกลุ่มเป้าหมายเพื่อเบิกวัคซีน

ข้อตกลงเพื่อบรรลุตัวชี้วัด ( ต่อ ) 5. สสจ. ติดตามกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีน 6. สนับสนุนทางวิชาการ เช่น ให้คำปรึกษาทั้ง หน่วยบริการและประชาชน 7. ติดตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายของแต่ละจังหวัด สำหรับการเบิกจ่ายวัคซีน จังหวัด สคร. ส่วนกลาง 8. สคร. ติดตามผลการฉีดวัคซีนทุกวันศุกร์ ( จัดทำ รายงานเสนอผู้ตรวจ ) 9. สคร. สุ่มเยี่ยมติดตามความครอบคลุมการได้รับ วัคซีน ( จัดทำแบบสอบถามในการรับรู้ของ ประชาชน )

National Program โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

National Program 1. สุ่มสำรวจกลุ่มเสี่ยง วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโดยกำหนดกลุ่มพื้นที่และกลุ่ม ประชากรที่จะดำเนินการ สคร. ลงดำเนินการสำรวจในพื้นที่ ( แนวทาง STAG 1 ครั้ง และนอกรอบ 1 ครั้งในบางสคร.) สรุปวิเคราะห์รายงานผลสำรวจและวางแผนแก้ไข ปัญหาร่วมกับทางจังหวัด ผลักดันให้มีการเสนอผลการดำเนินงานและแนว ทางแก้ไขในเวทีผู้ตรวจ 2. นิเทศติดตามการดำเนินงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค + ประเมินมาตรฐาน + รับรอง นักเรียน +(FLU LAJE dT MR HPV) ลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมนิเทศติดตาม สรุปวิเคราะห์รายงานผลสำรวจและวางแผนแก้ไข ปัญหา ผลักดันให้มีการเสนอผู้ตรวจ

National Program 3. ประชุมถ่ายทอดแนวทางการให้บริการวัคซีน LAJE ( สคร ) dT MR ทุกสคร. ยกเว้นสคร HPV ( สคร. 1) 4. ประสานพื้นที่ ( จังหวัดให้ดำเนินการสำรวจ SIA โดย การหยอดวัคซีนโปลิโอ ) 5. ไข้หวัดใหญ่ ประชาสัมพันธ์ทั้ง airwar ( ส่วนกลาง ) และ Ground war ( สคร.) มุ่งเน้นไปที่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กกลุ่ม อายุ 6 เดือน – 2 ปี ให้ สสจ. ดำเนินการกระตุ้นบุคลากรกลุ่มเสี่ยงให้มาฉีด วัคซีน เพราะส่วนใหญ่ที่ฉีดคือกลุ่ม back office ติดตามความก้าวหน้า และปัญหาอุปสรรคในการ ดำเนินงานเป็นระยะ