วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถ้าปีใดเป็นปีอธิกมาส เลื่อนไปตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ หลัง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนของเรา ชุมชนอบอุ่น MANAGEMENT BY P.PROPERTY MANAGEMENT.CO,LTD
Advertisements

พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้จัดทำ ด. ญ. ภัทรธิดา เล้าการนา ผู้จัดทำ ด. ญ. ภัทรธิดา เล้าการนา.
ด.ช. อนุธร เทอดวงศ์วรกุล
ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่ควรรำลึกและจดจำ
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
พวกเราชาวไทยในปัจจุบัน ถือวันที่ 14 เมษายน ของทุกปี เป็นวันครอบครัว
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
๑. ๑ มีป้าย โรงเรียนวิถี พุทธ ๑. ๒ มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน.
บทที่ 10 วันที่ 5 มีนาคม เปาโลอธิบายภาพความขัดแย้งอันยิ่งใหญ่ไว้ในจดหมายที่ท่านเขียน :
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ศาสนาคริสต์111
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
เทศกาล / วันสำคัญทางศาสนา
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ฝ่ายพิธี กองศาสนูปถัมภ์ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
โอวาท๓ / ไตรสิกขา.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ตัวอย่างการใช้ Microsoft PowerPoint.
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
ตอนที่ 5: จิตสำนึกแห่งความชอบธรรม
อำนาจอธิปไตย 1.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
มงคลชีวิต อย่านอนตื่นสาย อย่าอายทำกิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา
Pope ในฐานะผู้นำของรัฐวาติกัน
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
หลุยส์ ปาสเตอร์.
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
พระสงฆ์ พุทธสาวก พุทธสาวิกา
ศาสนาเชน Jainism.
บทที่ 3 พิธีกรรม และ ศาสนพิธี ทางศาสนาพุทธ.
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
คำเทศนาชุด ชีวิตคริสเตียนที่สมดุล ตอนที่ 4: ฉันเป็นคนรับใช้ของพระเจ้า
สรุปผลการปฏิบัติงานประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ชาวพุทธตัวอย่าง สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
นาย พิศณุ นิลกลัด.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถ้าปีใดเป็นปีอธิกมาส เลื่อนไปตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ หลัง

การเข้าพรรษา คือการที่ภิกษุตั้งใจว่า จะอยู่ประจำเสนาสนะ วัดใดวัดหนึ่งตลอดระยะเวลา ๓ เดือน ภายในฤดูฝน ตั้งแต่ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึง วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไม่ไปพักค้างแรมให้ล่วงราตรีในที่แห่งอื่น เว้นแต่มีเหตุจำเป็นตามที่พระวินัยอนุญาตไว้

ประวัติวันเข้าพรรษา สมัยพุทธกาลเมื่อพระสงฆ์มากขึ้น บางรูปไม่หยุดค้างในฤดูฝน เที่ยวจาริกไปในที่ต่าง ๆ เหยียบย่ำ ข้าวกล้าของชาวนาเสียหาย เหยียบสัตว์เล็ก ๆ ตาย และอาจเป็นอันตรายแก่ตนเอง ชาวบ้านจึงตำหนิติเตียน แม้ผู้นับถือศาสนาอื่นยังหยุดพักตลอดฤดูฝน เป็นเหตุให้ พระพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติ พระวินัยให้พระทุกรูปอยู่ จำพรรษาในฤดูฝนเป็นเวลา ๓ เดือน

กิจของสงฆ์ในการเข้าพรรษา การสวดมนต์ทำวัตรเช้า วัตรเย็น กิจของสงฆ์ในการเข้าพรรษา การสวดมนต์ทำวัตรเช้า วัตรเย็น ในช่วงจำพรรษา พระสงฆ์ได้ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย

กิจของพุทธศาสนิกชน การถวายผ้าอาบน้ำฝนในวันก่อนเข้าพรรษาหรือวันเข้าพรรษา การทำบุญตักบาตรในระยะเวลาเข้าพรรษา รักษาศีล ฟังธรรม งดเว้นอบายมุขอย่างเคร่งครัด เช่น งดเหล้าเข้าพรรษา รักษาศีลอุโบสถทุกวันพระ เป็นต้น

นักเรียนทำแบบฝึกหัด ๗ ข้อ นะคะ ๑ นักเรียนทำแบบฝึกหัด ๗ ข้อ นะคะ ๑. ข้อใดคือระยะเวลาในการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ ก. ขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๘ – ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ข. แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ – ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ค. ขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๘ – ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ง. แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘- ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒

๒. ข้อใด คือ ความหมาย การเข้าพรรษา ก ๒. ข้อใด คือ ความหมาย การเข้าพรรษา ก. การที่ภิกษุตั้งใจว่า จะอยู่ประจำเสนาสนะ วัดใดวัดหนึ่งตลอดระยะเวลา ๓ เดือน ภายในฤดูร้อน ข. การที่ภิกษุตั้งใจว่า จะอยู่ประจำเสนาสนะ วัดใดวัดหนึ่งตลอดระยะเวลา ๓ เดือน ภายในฤดูฝน ค. การที่ภิกษุตั้งใจว่า จะอยู่ประจำเสนาสนะ วัดใดวัดหนึ่งตลอดระยะเวลา ๓ เดือน ภายในฤดูหนาว

๓. พระพุทธเจ้ากำหนดให้มีเทศกาลเข้าพรรษา เพื่อให้เป็นกิจที่สำคัญอย่างยิ่งที่ใครต้องปฏิบัติ ก. พุทธศาสนิกชน ข. พุทธบริษัท ค. อุบาสก อุบาสิกา ง. ภิกษุ

๔. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุที่พระพุทธเจ้ากำหนดให้มี การเข้าพรรษา ก ๔. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุที่พระพุทธเจ้ากำหนดให้มี การเข้าพรรษา ก. ภิกษุเหยียบย่ำข้าวในนาของประชาชนเสียหาย ข. ภิกษุเหยียบสัตว์เล็ก สัตว์น้อยในนาเป็นอันตราย ค. ชาวบ้านตำหนิติเตียน ง. ภิกษุทูลขอให้มีการเข้าพรรษา

๕. หน้าที่ที่สำคัญที่สุดของภิกษุในเทศกาลเข้าพรรษา ที่พระพุทธเจ้ากำหนด คือข้อใด ก. สามีจิกรรม ข. ปวารณา ค. กรานกฐิน ง. ศึกษา-ปฏิบัติตามพระวินัย

๖. ข้อใด คือประเพณีของพุทธศาสนิกชน ในเทศกาล เข้าพรรษา ก ๖. ข้อใด คือประเพณีของพุทธศาสนิกชน ในเทศกาล เข้าพรรษา ก. อุปสมบท ถวายผ้าอาบน้ำฝน แห่เทียน ทอดกฐิน ข. อุปสมบท ถวายผ้าอาบน้ำฝน แห่เทียน ทอดผ้าป่า ค. อุปสมบท ถวายผ้าอาบน้ำฝน แห่เทียน ตักบาตร เทโวโรหนะ ง. อุปสมบท ถวายผ้าอาบน้ำฝน แห่เทียน รักษาศีล อุโบสถ

๗.ข้อใด ไม่ใช่ การรักษาศีลเป็นพิเศษในเทศกาลเข้าพรรษาของพุทธศาสนิกชน ก. ศึกษา ปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ข. งดเหล้าเข้าพรรษา ค. รักษาศีลอุโบสถ ง. งดเว้นอบายมุข