งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา

2 เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาไตรมาส 1 (ต.ค.-ธ.ค.59) ปีงบประมาณ 2560
ราย ที่มา: รายงาน แม่ตายรอบ 3 เดือน (เดือน ต.ค. –ธ.ค.59) กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ

3 เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาไตรมาส 1 และ 2 ปีงบประมาณ 2560
เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาไตรมาส 1 และ 2 ปีงบประมาณ 2560 ที่มา: รายงาน แม่ตายรอบ 6 เดือน (เดือน ต.ค. 59 – มี.ค.60) กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ

4 เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาในช่วงเวลาเดียวกัน ปี2559 – 2560
(ต.ค.– มี.ค.) ราย ที่มา: ปี 2559 รายงานแม่ตายรอบ 6 เดือนแรก กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ (เดือน ต.ค. 58 – มี.ค.59) ปี 2560 รายงาน แม่ตายรอบ 6 เดือนแรก กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ (เดือน ต.ค. 59 – มี.ค.60)

5 สาเหตุการตายมารดา (ตค.59-มี.ค.60)
N = 60 สสสาเหตุทางตรง สาเหตุทางอ้อม ไม่ระบุสาเหตุ ที่มา:สำนักส่งเสริมสุขภาพ

6 จังหวัดที่มีมารดาตายจากการตกเลือด (ตค.59-มี.ค.60)
เขตสุขภาพ จังหวัด ราย 1 น่าน พะเยา 2 ตาก 4 3 พิจิตร ปทุมธานี สุพรรณบุรี 5 ฉะเชิงเทรา 7 ขอนแก่น 8 อุดรธานี 11 สุราษฎร์ธานี 12 ปัตตานี ตรัง นราธิวาส รวมทั้งสิ้น 19 ราย ที่มา : สำนักส่งเสริมสุขภาพ 29/05/60

7 (ตค.59-มี.ค.60) จังหวัดที่มีมารดาตายจากความดันโลหิตสูง
เขตสุขภาพ จังหวัด ราย 1 เชียงใหม่ 3 12 ปัตตานี ตรัง นราธิวาส รวมทั้งสิ้น 6 ราย ที่มา : สำนักส่งเสริมสุขภาพ 29/05/60

8 การวิเคราะห์ปัญหาแม่ตาย เขตสุขภาพที่ 2
การวิเคราะห์ปัญหาแม่ตาย เขตสุขภาพที่ 2 มารดาชาวไทยภูเขา ตกเลือดเสียชีวิต จำนวน 4 ราย จาก อ.ท่าสองยาง 2 ราย อ.แม่ละมาด 1 ราย อ.แม่สอด 1 ราย ปัญหา 1.วัฒนธรรมชาวเขา ยังคลอดที่บ้านด้วยผดุงครรภ์โบราณ 2.ระยะทางที่ลำบากและห่างไกล

9 การวิเคราะห์ปัญหามารดาตาย เขต 12 ยะลา
Delay Detection ขาดทักษะในการประเมินภาวะเสี่ยง ใน ANC LR Delay diagnosis Delay Refer ระบบยังรองรับไม่เต็มที่ ขาดที่ปรึกษา / พี่เลี้ยง

10 ข้อเสนอแนะ 1.หน่วยบริการสาธารณสุข เน้นการคัดกรอง และการดูแล high risk pregnancy และมีการทำมาตรการ/กิจกรรมในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา poor ANC ,no ANC 2.ในการดูแลภาวะตกเลือดหลังคลอดด้วยยา มีระยะเวลาที่ใช้ประเมิน 30 นาทีว่าเลือดหยุด หรือไม่ ถ้าไม่หยุดพิจารณาใช้ Condom Ballooning Technique และประสานการส่งต่อ แบบ fast track obstetrics 3.พัฒนาระบบการ Consult และส่งต่อแบบ fast tract obstetrics ในภาวะวิกฤติ เช่น PPH ,PIH 4.หน่วยบริการควรมี Standing Order ในบางเรื่องที่สำคัญเช่น PPH, Severe PIH, Eclampsia -ส่วนกลางผลักดันให้พื้นที่ดำเนินการผ่านคณะกรรมการ Service plan และคณะกรรมการ อนามัยแม่และเด็ก (26 มิถุนายน 60)

11 สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป
ศึกษาผลกระทบการตายมารดาต่อทารก (ข้อมูลย้อนหลังจากHDC) - แรกคลอด - พัฒนาการตามช่วงอายุ เดือน - ในกรณีที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ผลการกระตุ้นพัฒนาการเป็นอย่างไร 2. พัฒนาโปรแกรมลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์และคัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ เพื่อ smart preg.สู่ smart kid

12 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google