การบริหารจัดการงบประมาณ กองทุนวัณโรค ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Advertisements

ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
27 เมษายน 2559 จังหวัด นครราชสีมา. วัตถุประสงค์การจัดทำ รายงานวัณโรค เพื่อทราบสถานการณ์ และประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมวัณโรค ของหน่วยงาน ที่ให้บริการ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
TBCM Online.
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
SMS News Distribute Service
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบ OP PP Individual
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
รายงานสถานการณ์E-claim
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการงบประมาณ กองทุนวัณโรค ปีงบประมาณ 2558 เภสัชกรรัฐพงศ์ ขันเดช (แจ็ค) สปสช.เขต 8 อุดรธานี โทรศัพท์ 090-197-5220 E-mail : ruttapong.k@nhso.go.th วันที่13 ม.ค. 2558 ห้องฝนหลวง3 โรงแรมนภาลัย

สถานการณ์วัณโรคในประเทศไทย วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย คนไทยป่วยวัณโรครายใหม่ปีละประมาณ 80,000 ราย (119 ต่อแสนประชากร) มีแนวโน้มลดลงมาตลอดช่วง 10 ปีล่าสุด ขึ้นทะเบียนรักษาประมาณ 60,000 ราย อัตรารักษาสำเร็จร้อยละ 85 อัตราป่วยของประเทศไทยสูงกว่าประเทศที่พัฒนาแล้วเช่นสหรัฐอเมริกา ถึง 30 เท่า และติดอันดับกลุ่ม 22 ประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคสูงที่สุดในโลกเช่นเดียวกันกับเมียนมาร์ กัมพูชา และเวียดนาม ปัญหาวัณโรคดื้อยา Multi-drug resistant TB (ดื้อ Isoniazid + Rifampicin)

The 3 Pillars of Effective TB control Active Case Finding Anti-TB drugs Laboratory testing DOTs Detection & Cure แผนงานสนับสนุนระบบบริการเอดส์ วัณโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

แนวคิด-หลักการ ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการค้นหา และเข้าถึงบริการ การดูแลรักษาตั้งแต่เริ่มต้น ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลรักษา ที่เป็นไปตามมาตรฐานและมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ในหน่วยบริการทุกแห่ง (ยา, Lab, DOT) พัฒนาระบบการตรวจวินิจฉัยเชื้อวัณโรคดื้อยา ทั้งการตรวจเพาะเชื้อ/ DST/Molecular assay ให้มีประสิทธิภาพ และเพิ่มการตรวจติดตามการ รักษาเชื้อวัณโรคดื้อยาแก่ผู้ป่วยวัณโรค

ผู้ป่วยวัณโรคในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยวัณโรคในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จำนวน 52,161 ราย วัตถุประสงค์ เพื่อลดอัตราเสียชีวิตและอัตราป่วย ของผู้ป่วยวัณโรค เพื่อสนับสนุนการจัดบริการดูแลรักษาและควบคุม วัณโรคให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคดื้อยา

ชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพ Anti-TB drugs First line drugs Second line drugs Fixed Dose Combination : 2FDC, 4FDC Laboratory testing Chest x-ray Sputum for AFB Sputum culture and drug susceptibility testing DOT monitoring program TB detection in contact-case and risk population Additional payment on-top of capitation แผนงานสนับสนุนระบบบริการเอดส์ วัณโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กรอบการบริหารงบวัณโรค ปี2558 เป้าหมาย UC : 52,161 ราย งบผู้ป่วยวัณโรค 277.54 ลบ. ชดเชยบริการ ยา (VMI) ชันสูตรพื้นฐาน/ดื้อยา ค้นหาผู้ป่วย กำกับการรักษา สนับสนุนบริการข้อมูล สนับสนุนยาต้าน วัณโรค สูตรพื้นฐานและดื้อยาแก่ผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงการตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน และตรวจหาเชื้อดื้อยาวัณโรค สนับสนุนกิจกรรม การค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้าน และกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดการแพร่เชื้อวัณโรค สนับสนุนกิจกรรมการกินยาอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ด้วยวิธี DOT สนับสนุนค่าบริการบันทึกข้อมูล ให้หน่วยบริการ วัตถุประสงค์ งบประมาณรวม : 277,540,260 บาท 7

แนวทางบริหารจัดการงบกองทุนวัณโรค การบริหารจัดการงบวัณโรคเป็น 2 ส่วน (งบประมาณรวม 277,540,260 บาท) บริหารโดยส่วนกลาง (222.98 MB) ได้แก่ ยา (1st,2ndline), LAB (พื้นฐานและดื้อยา),บริการข้อมูล บริหารโดย สปสช เขต (54.56 MB) ได้แก่ DOTs, ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคและผู้สัมผัส เงินชดเชยบริการเป็นเงินของหน่วยบริการ - ยา, Lab ส่วนกลางบริหาร จ่ายตรงหน่วยบริการตามปริมาณงานใน TB Data Hub - DOTs, ACF – สปสช.เขตบริหาร (กำหนดเกณฑ์, จัดสรรเงิน, กำกับงาน) ตามมติของ อปสข. - อาจจัดสรรผ่านสสจ. หรือจ่ายตรงหน่วยบริการ ชดเชยบริการ 277.54 ลบ. เงินลงหน่วยปฏิบัติการ ส่วนกลาง ยา, Lab,บริการข้อมูล (แผนงานเอดส์) DOTs, ค้นหาผป. (สปสช.เขต) เขต ดำเนินการ จังหวัด หน่วยบริการ สสจ,สำนัก อนามัย

งบประมาณ DOT และ Active Case Finding จำนวน 54.56 ล้านบาท แนวคิด เพื่อสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งผลต่อผลลัพธ์การรักษาผู้ป่วย วัณโรคให้บรรลุตามเป้าหมาย เช่น กิจกรรมติดตามการรักษา ผู้ป่วยวัณโรค กิจกรรมกำกับการกินยา กิจกรรมเยี่ยมบ้าน รวมถึงสนับสนุนกิจกรรมการค้นหาผู้ป่วย วิธีการจัดสรร โดยแบ่งงบประมาณเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ร้อยละ 50 : จัดสรรตามสัดส่วนปริมาณงาน ในแต่ละเขต ส่วนที่ 2 ร้อยละ 50 : จัดสรรตามปริมาณงาน ร่วมกับผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดการดำเนินงาน

สสจ., สำนักอนามัย, หน่วยบริการ บทบาทสปสช.เขต - วัณโรค กิจกรรม งปม.(ลบ.) หน่วยรับสนับสนุน 1.จัดสรรงบประมาณติดตามกำกับการกินยา 54.56 สสจ., สำนักอนามัย, หน่วยบริการ 2.จัดสรรงบประมาณการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค แนวทางจัดสรร ปี 2558 ผลลัพธ์การดำเนินงานในปี 2557 จะมีผลต่อการจัดสรรงบ DOT และ ACF ปี 58 (จัดสรรตามปริมาณงาน+ ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด) รูปแบบการจัดสรรงบ DOT+ACF เช่นเดียวกับปี 57 ใช้ข้อมูลผป ขึ้นทะเบียนไตรมาส 3,4 ปี 56 – 1,2 ปี 57

งบ DOTs, ACF 2558 เขต DOT&ACF(บาท) เชียงใหม่ 4,958,061 พิษณุโลก 2,458,122 นครสวรรค์ 2,158,556 สระบุรี 4,011,098 ราชบุรี 3,502,616 ระยอง 4,424,218 ขอนแก่น 5,540,916 อุดรธานี 4,193,659 นครราชสีมา 7,470,615 อุบลราชธานี 4,252,874 สุราษฎร์ธานี 4,244,605 สงขลา 3,686,358 กรุงเทพฯ 3,658,583 รวม 54,560,280

รวมเงินจัดสรรทั้งหมด ทั้งหมด 4,193,659 งบ DOTs, ACF 2558 เขต 8 สปสช. เขต 8 รวมเงินจัดสรรทั้งหมด ทั้งหมด 4,193,659 (บาท) อุดรธานี 1,430,455 สกลนคร 862,242 นครพนม 450,283 เลย 399,046 หนองคาย 339,794 หนองบัวลำภู 423,543 บึงกาฬ 288,296 รวม 4,193,659

หน่วยบริการรักษาวัณโรค 1. หน่วยบริการพื้นฐาน (First Line Drug Unit) หน่วยบริการประจำและหน่วยบริการรับส่งต่อ ทั้งภาครัฐ และเอกชนในระบบ UC ทุกแห่ง ให้ถือเป็นหน่วยบริการพื้นฐานให้การรักษาโดยไม่ต้องขึ้นทะเบียน 2. หน่วยบริการรักษาโรคติดเชื้อวัณโรคดื้อยา (Multi Drug Resistant TB Center) หน่วยบริการระดับ รพศ รพท รพ มหาวิทยาลัย/แพทย์ สำนักวัณโรค สคร ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วย MDR TB แล้ว กรณีเป็น รพช. ต้องแสดงความจำนงจากสปสช เขต เพื่อตรวจประเมินการขึ้นทะเบียน

MDR TB Treatment Design Risk Population (Proactive case detection) General Population (Walk-in) -Cost of diagnosis and out-reached activities are additional supported New TB Cases Diagnosis of Registration Care Program MDR screening criteria RE-ON-PRE Treatment of MDR-TB -Cost of TB diagnosis has already been included in capitation -Additional support for MDR-TB screening in new cases only In some particular criteria -Provide 1st line anti-TB drugs -Sputum AFB and CXR for FU -DOTs program activities -Provide MDR-TB screening in specific cases -sputum culture & identification -DST -Rapid test -Provide 2nd line anti-TB drugs -Sputum AFB and CXR for FU -DOTs program activities แผนงานสนับสนุนระบบบริการเอดส์ วัณโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการวัณโรคดื้อยา ปี 2558 แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการวัณโรคดื้อยา ปี 2558

หน่วยตรวจทางห้องปฏิบัติการวัณโรคดื้อยา สปสช ขึ้นทะเบียน 3 กลุ่มตามศักยภาพหน่วยตรวจ หน่วยตรวจเพาะเชื้อวัณโรคด้วยวิธี Solid or Liquid หน่วยตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรคด้วยวิธี Solid or Liquid หน่วยตรวจเชื้อวัณโรคดื้อยาด้วยวิธี Molecular assay ** หน่วยตรวจแต่ละแห่งขึ้นทะเบียนกับสปสช ได้มากว่า 1 กลุ่มตามศักยภาพ

เกณฑ์การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการวัณโรคดื้อยา เกณฑ์ส่งตรวจ วัณโรคดื้อยา กรณีตรวจเพื่อวินิจฉัยวัณโรค ดื้อยา กรณีตรวจเพื่อติดตามการรักษาวัณโรคดื้อยา Alternative Package Molecular assay+ Solid culture (DST) Standard Package (Solid/Liquid) Culture Standard Package (Solid/Liquid) Culture &DST ตรวจเพื่อวินิจฉัยไม่เกิน 1 ครั้ง/course รักษา เมษายน 60 กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์และวัณโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตรวจติดตามรักษา ไม่เกิน 16 ครั้ง/course รักษา

เงื่อนไขการส่งตรวจเสมหะ เพื่อตรวจวินิจฉัยเชื้อวัณโรคดื้อยา (MDR-TB)

การบริหารจัดการยาต้านวัณโรค ภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

การบริหารจัดการยาต้านวัณโรค สูตรยาต้านไวรัส แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1st Line 2nd Line หน่วยบริการเบิกยาต้านไวรัสผ่านระบบ VMI การเบิกยาต้านไวรัสผ่านระบบ VMI แบ่งเป็น 2 กลุ่ม สามารถปรับปริมาณการเบิกได้ ไม่สามารถปรับปริมาณการเบิกได้ โดยปริมาณการเบิกจะถูกเชื่อมโยงข้อมูลจากการบันทึกการติดตามการรักษาที่หน่วยบริการส่งเข้าสู่ TB Data Hub

รายการยาต้านวัณโรค กลุ่ม รายการ ความแรง 1st Line Ethambutol 400 mg , 500 mg Isoniazid 100 mg Pyrazinamide 500 mg Rifampicin 300 mg , 450 mg Streptomycin 1000 mg

รายการยาต้านวัณโรค กลุ่ม รายการ ความแรง 2nd Line Ofloxacin 200 mg Levofloxacin 500 mg Ethionamide 250 mg Kanamycin 1000 mg PAS Cycloserin

สรุปแนวทางที่แตกต่างจากปี 2557 ปี 2558 พัฒนาระบบและควบคุมการเบิกยาวัณโรคเฉพาะสิทธิ UC (สูตรดื้อยา) พัฒนาระบบเพื่อเตรียมขยายควบคุมการเบิกยาวัณโรคเฉพาะสิทธิ UC ทุกรายการ การตรวจวินิจฉัยวัณโรคดื้อยา กรณีตรวจด้วย Standard Package (RE ON PRE AFB +/-) ประเภท ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ตรวจฯ เช่นเดียวกับ ปี 2557 กรณีตรวจด้วย Molecular Assay (RE ON AFB+ และ ผป household contact MDR TB AFB+ 23

สรุปแนวทางที่แตกต่างจากปี 57 ปี 2557 ปี 2558 ตรวจติดตามการรักษาเชื้อ วัณโรคดื้อยา 4 ครั้ง / course การรักษา เพิ่มการตรวจติดตามการรักษา วัณโรคดื้อยาสำหรับผู้ป่วย MDR TB 16 ครั้ง การพัฒนาระบบสารสนเทศ วัณโรค TB Data Set (13 แฟ้ม) แนวคิด : รับข้อมูล รพ จากโปรแกรมสำเร็จรูปที่เข้าได้กับ data set เป็นหลัก (TBCM, SMART TB) ปรับ TB Data Set (ใหม่ 2 แฟ้ม) แนวคิด :ให้หน่วยบริการ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบฐานข้อมูล รพ. ส่งข้อมูลมาที่ สปสช. ตาม Data Set (เป็น Priority แรก) การชดเชยยา LAB และชดเชยบริการอื่นๆ ชดเชยตามข้อมูลจริงที่มีในระบบ 24

การส่งข้อมูลงานวัณโรค มาที่ สปสช.ระบบใหม่ Smart TB TBCM Data tank Data on hos 43 แฟ้ม TB Data Set (New) 2 Table TB Data Hub TB Drug Reimbursement VMI software

การติดตาม ควบคุม กำกับ แผนงานเอดส์ วัณโรค ติดตามกำกับเขตตามผลลัพธ์การดำเนินงาน สปสช.เขตติดตามกำกับสสจ. (ตามแนวทางแต่ละเขต) สสจ.ติดตามกำกับหน่วยบริการ (ตามแนวทางแต่ละสสจ.) ตัวชี้วัดที่กองทุนใช้ คือ อัตราผลสำเร็จของการรักษา (Success Rate ) อัตราขาดยา (Default Rate ) ผลลัพธ์การดำเนินงานในปี 57 จะมีผลต่อการจัดสรรงปม. ระดับเขตในปีงบ 58 ปี 58 จัดสรรด้วยผลลัพธ์ร้อยละ 50 ของงบ DOTs + ACF

การชดเชยการตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน ราคาชดเชย ตรวจ AFB 20 บาท/ตัวอย่างตรวจ กลุ่มผป ใหม่และกลุ่ม ผป. รักษาซ้ำ เบิกได้ไม่เกิน 3 ชุดๆ ละ 3 Sample (Slide) / course การรักษา กลุ่ม ผป ดื้อยา เบิกได้ไม่เกิน 6 ชุดๆ ละ 3 Sample (Slide) / course การรักษา ตรวจ CXR 100 บาท/ตัวอย่างตรวจ เบิกได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ต่อ course การรักษา เบิกได้ไม่เกิน 5 ครั้ง ต่อ course การรักษา

การชดเชยการตรวจทางห้องปฏิบัติการวัณโรคดื้อยา กรณีตรวจเพื่อวินิจฉัยดื้อยา : ไม่เกิน 1 ครั้ง/course รักษา กรณีตรวจเพื่อติดตามรักษา : ไม่เกิน 16 ครั้ง/course รักษา เทคนิค ราคาชดเชย การตรวจเพาะเชื้อวัณโรค Solid Media 200 บาท/ตัวอย่างส่งตรวจ Liquid Media 300 บาท/ตัวอย่างส่งตรวจ การทดสอบความไวต่อเชื้อดื้อยา 500 บาท/ตัวอย่างส่งตรวจ ตรวจด้วยวิธี Molecular Molecular assay 850 บาท/ตัวอย่างส่งตรวจ

รอบการตัดข้อมูลเพื่อการชดเชยบริการ รอบที่ วันที่ตัดข้อมูล ช่วงเวลาที่ตัดข้อมูล มาคำนวณ 1 1 มกราคม 1 ต.ค – 31 ธ.ค. 2 1 เมษายน 1 ม.ค – 31 มี.ค. รวบรวมข้อมูลตกค้างจากไตรมาสแรก 3 1 กรกฎาคม 1 เม.ย – 30 มิ.ย. และสอง 4 10 ตุลาคม 1 ก.ค – 30 ก.ย. รวบรวมข้อมูลตกค้างทุกไตรมาส

การใช้รายงานข้อมูลเบิกยา และรายงานตรวจสอบข้อมูลนำเข้าเพื่อชดเชย LAB พื้นฐาน

1.เมนูรายงานข้อมูลเบิกยา เข้าในเมนู ค้นหา/รายงาน เลือก “รายงานข้อมูลการเบิกยา” : เป็นเมนูที่แสดงข้อมูลยาที่ส่งเข้าในระบบ VMI ช่วยให้ รพ สามารถตรวจสอบรายการยาที่นำเข้าในระบบได้

1.เมนูรายงานข้อมูลเบิกยา ระบบจะแสดงหน้า เงื่อนไขการค้นหา กำหนดให้ รพ กำหนดเงื่อนไขวันที่ต้องการค้นหาข้อมูลยา โดยเลือก ข้อมูลวันที่จ่ายยา หรือ วันที่ส่งข้อมูลเข้า TB Data Hub เลือกช่วงวันที่ต้องการแสดงผล เลือกรูปแบบรายงานแบบ html หรือ excel

1.เมนูรายงานข้อมูลเบิกยา ระบบแสดงรายงานข้อมูลยาที่นำเข้าใน VMI โดย รพ สามารถตรวจสอบรายการยาที่นำเข้าในระบบได้ รายงานแสดงข้อมูล : ชื่อยา หน่วยบริการ VMI code ปริมาณ วันที่ข้อมูลเข้า data hub และวันที่ส่งข้อมูลเข้า VMI เมื่อ รพ ส่งข้อมูลเข้าระบบ data hub ระบบจะส่งข้อมูลเข้า VMI ภายในอีก 1-2 วัน ถัดไป

2.เมนูรายงานข้อมูลนำเข้าเพื่อชดเชย LAB พื้นฐาน เข้าในเมนูข้อมูลประมวลผลชดเชย

2.เมนูรายงานข้อมูลนำเข้าเพื่อชดเชย LAB พื้นฐาน เลือกปีงบประมาณ และไตรมาสที่ต้องการตรวจสอบ กดแสดง รายงาน

2.เมนูรายงานข้อมูลนำเข้าเพื่อชดเชย LAB พื้นฐาน ระบบจะแสดงรายงานข้อมูลเป็น 2 เมนู คือ 1) รายชื่อแฟ้มข้อมูลที่ถูกนำเข้าในระบบ โดยแสดงตามเงื่อนไขที่เลือกไว้ เช่น เลือกปี 2557 ไตรมาส 4 ระบบจะดึง zip file ที่ถูกนำเข้าในไตรมาส 4 ทั้งหมดมาแสดงผล

2.เมนูรายงานข้อมูลนำเข้าเพื่อชดเชย LAB พื้นฐาน 2) ข้อมูลเพื่อประมวลผลชดเชย : โดยแสดงตามเงื่อนไขที่เลือกไว้ เช่น เลือกปี 2557 ไตรมาส 4 ระบบจะดึงตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการชดเชย LAB พื้นฐาน (TB no,PID,month no,วันที่ตรวจ AFB,CXR สิทธิการรักษา) ช่วยให้ รพ ทวนสอบการนำเข้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายเข้าในระบบ

การติดต่อ คุณเรขวรรณ เรขะคณะกุล Tel 084 439 0095 eMail rekawan.r@nhso.go.th ด้านการชดเชยบริการ lab เอดส์และวัณโรค คุณจิตติยา ลัดดากลม Tel 090 197 5137 eMail jittiya.l@nhso.go.th ด้านการชดเชยบริการวัณโรคและสิทธิประโยชน์งานวัณโรค การใช้โปรแกรม TB data hub ภญ.ณัฐพร ก้องสกุลไกร Tel 081 901 9017 eMail nattaporn.k@nhso.go.th ยาต้านไวรัสเอดส์ ยาต้านวัณโรคและ VMI

Thank you for attention When I want to think, I sit. When I want to change, I act เมื่อฉันต้องการ ที่จะคิด... ฉันนั่ง เมื่อฉันต้องการ ที่จะเปลี่ยน ... ฉันลงมือทำ