สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ 18-24 สิงหาคม 2554.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
หอมแดง.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สรุปสถานการณ์การระบาด ศัตรูมะพร้าวมะพร้าว
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
ติดตามงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ปีงบประมาณ พ. ศ กลุ่มงาน / กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดราชบุรี
สถานการณ์การผลิตผลไม้จังหวัดระนอง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554

รายงานสถานการณ์การ ระบาด 46 จังหวัด รายงานสถานการณ์การ ระบาด 46 จังหวัด 11 14,740 พบพื้นที่การระบาด 11 จังหวัด รวม 14,740 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.14 ของ พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังยืน ต้นทั้งประเทศ (10,414,051 ไร่ ) โดยมี พื้นที่ระบาดเพิ่มขึ้น 1,007 ไร่หรือร้อยละ 7.33 เมื่อเปรียบเทียบกับ พื้นที่ระบาดสัปดาห์ที่ผ่าน มา (13,733 ไร่ ) 11 14,740 พบพื้นที่การระบาด 11 จังหวัด รวม 14,740 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.14 ของ พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังยืน ต้นทั้งประเทศ (10,414,051 ไร่ ) โดยมี พื้นที่ระบาดเพิ่มขึ้น 1,007 ไร่หรือร้อยละ 7.33 เมื่อเปรียบเทียบกับ พื้นที่ระบาดสัปดาห์ที่ผ่าน มา (13,733 ไร่ ) ได้แก่ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา และสุพรรณบุรี จังหวัดที่พบการ ระบาด เพิ่มขึ้น ได้แก่ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา และสุพรรณบุรี จังหวัดที่พบการ ระบาด ลดลง ได้แก่ ขอนแก่น กาญจนบุรี และมหาสารคาม พื้นที่ระบาดจำแนก ตามอายุ มันปะ หลัง 1 – 4 เดือน 7,649 ไร่ 1 – 4 เดือน 7,649 ไร่ มากว่า 4 – 8 เดือน 6,293 ไร่ มากว่า 4 – 8 เดือน 6,293 ไร่ มากกว่า 8 เดือน 798 ไร่ มากกว่า 8 เดือน 798 ไร่ จังหวัดที่พบการ ระบาด คงที่ ได้แก่ พิษณุโลก สระบุรี ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ และ สกลนคร

ปัจจัยที่มีผลทำให้การ ระบาดเพิ่มขึ้น ในบางพื้นที่มีการปลูกมัน สำปะหลังใหม่ แต่เกษตรกรไม่ได้ทำการ แช่ท่อนพันธุ์ มันสำปะหลังด้วยสารเคมี ก่อนปลูก

ปัจจัยที่มีผลทำให้การ ระบาดลดลง 2. ในพื้นที่ที่มีฝนตกต่อเนื่อง สภาพ อากาศความชื้นสูง เป็นสภาพไม่ เหมาะกับการขยายพันธุ์และการ แพร่กระจายของเพลี้ยแป้ง ทำให้พื้นที่ การระบาดของเพลี้ยแป้งลดลง 1. ผลจากการปล่อยแมลงช้างปีกใส และแตนเบียน Anagyrus lopezi อย่างต่อเนื่องและศัตรูธรรมชาติทั้ง สองชนิด สามารถทำลายเพลี้ยแป้งจึง ทำให้ปริมาณเพลี้ยแป้งลดลง

ผลการ ดำเนินงานที่ ผ่านมา ผลการ ดำเนินงานที่ ผ่านมา การ คาดการณ์ - เนื่องจากสภาพอากาศ สัปดาห์ที่ผ่านมาและอีก ๗ วันข้างหน้า ยังคงมีฝน ตกต่อเนื่อง มันสำปะหลังแตกยอดใหม่เจริญเติบโตได้ดี และปริมาณของ เพลี้ยแป้งสีชมพูลดลง เป็นผลดีต่อเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังแต่ให้ เกษตรกรมีการเฝ้าระวังต่อไปอย่างต่อเนื่อง สำหรับเพลี้ยแป้งสีเขียวและ เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียส อาจมีปริมาณเพิ่มขึ้น ส่วนในพื้นที่แห้งแล้ง ฝนไม่ตก การระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูจะยังคงมีอยู่ ดังนั้นขอให้เกษตรกรเฝ้าระวัง การระบาด โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เคยมีการระบาด และดำเนินการควบคุมทันที เมื่อพบเพลี้ยแป้ง 1. การปล่อยแตนเบียนของหน่วยงานราชการและเอกชน จาก วันที่ 1 ก. พ. 53 – 24 ส. ค. 54 รวมปล่อยทั้งหมด 6,009,234 คู่ ควบคุมพื้นที่ระบาด 120, ไร่ กรมส่งเสริมการเกษตร 3,512,702 คู่ สถาบันพัฒนามันสำปะหลัง 1,334,300 คู่ กรมวิชาการเกษตร 396,385 คู่ โรงแป้ง มันฯ 10 บริษัท 765,847 คู่ 2. การปล่อยแมลงช้างปีกใส ของกรมส่งเสริมการเกษตร รวม การปล่อยสะสมถึง วันที่ 24 ส. ค จำนวน 2,670,921 ตัว ควบคุมพื้นที่ระบาด 26, ไร่ ผลการปล่อย จากการติดตามประเมินผลในพื้นที่หลังการ ปล่อย 1 เดือน พบปริมาณเพลี้ยแป้งในพื้นที่ปล่อยลดลง และพบปริมาณไข่แมลงช้างปีกใสในธรรมชาติเพิ่มขึ้น

แผนการเฝ้าระวัง - ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนสำรวจติดตามติดตาม สถานการณ์อย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 1 ครั้งจากแปลงติดตาม สถานการณ์ แผนการเตือนภัย - - เมื่อสำรวจพบเพลี้ยฯมีแนวโน้มการระบาดให้ประกาศเตือน ภัยทางหอกระจายข่าวและวิทยุท้องถิ่น เพื่อให้เกษตรกรเฝ้า ระวังอย่างใกล้ชิด แนวทางการควบคุมเพลี้ยแป้งด้วยวิธีผสมผสาน แนวทางการควบคุมเพลี้ยแป้งด้วยวิธีผสมผสาน (1) หลีกเลี่ยงช่วงเวลาปลูกที่เหมาะสมกับการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้ง โดย แนะนำให้ปลูกมันสำปะหลังช่วงต้นฤดูฝน ไม่ควรปลูกในช่วงปลายฝน เพราะ ต้นมันสำปะหลังที่ปลูกใหม่อายุ 1 -4 เดือน หากมีสภาพอากาศแห้งแล้งจะ อ่อนแอและถูกเข้าทำลายได้ง่าย (2) กรณีแปลงที่มีการระบาดรุนแรง ไถเก็บซากพืชไปเผาทำลาย และพักดิน ตัดวงจรการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังโดยการปลูกพืชอื่นทดแทน (3) ใช้พันธุ์จากแหล่งเชื่อถือได้ ไม่มีเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังติดกับมาท่อน พันธุ์ (4) ไถตากดินหรือไถระเบิดดินดาน ตากทิ้งไว้อย่างน้อย 14 วัน (5) แช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีก่อนปลูก (6) สำรวจเพลี้ยแป้งทุกสัปดาห์ (7) หากพบเพลี้ยแป้งต้องรีบกำจัดและแจ้งเจ้าหน้าที่ (8) ควบคุมเพลี้ยแป้งโดยการปล่อยแมลงช้างปีกใสและแตนเบียน