นางสาวธัญวรัตน์ ปั้นทอง ภาคพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ
2 ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา ครบวงจร ( ) มียุทธศาสตร์ 5 ด้าน คือ การผลิตยาง, อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมไม้ ยางพารา, การตลาด และการบริหารงานภาคยาง โดยมีมาตรการดำเนินการทั้งระยะสั้นและระยะยาว ครม. มีมติ เห็นชอบ “ ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบ วงจร ” ของกนย. เมื่อวันที่ 16 ต. ค เพื่อให้การพัฒนา ยางพาราของประเทศมีทิศทางที่ชัดเจนเป็นเอกภาพ และมีความ ต่อเนื่องจนมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบบนพื้นฐานความเป็นธรรม และเสมอภาค ต่อมา ครม. มีมติเห็นชอบ “ กรอบแผนปฏิบัติการตาม ยุทธศาสตร์ฯ ” เมื่อวันที่ 7 ธ. ค ( กระทรวงเกษตรฯ เสนอ ) เป็นแนวทางการดำเนินงาน ของ หน่วยงานต่างๆ เป็นแผนปฏิบัติงานในส่วนที่เกี่ยวข้องได้ และ เพื่อให้ยุทศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร มีผลในทางปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบ วงจร ( ) ครม. มีมติ เห็นชอบ “ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยางพาราครบวงจร ” ของกนย. เมื่อวันที่ 16 ต. ค เพื่อให้การพัฒนายางพาราของ ประเทศมีทิศทางที่ชัดเจนเป็นเอกภาพ และมี ความต่อเนื่องจนมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบบน พื้นฐานความเป็นธรรมและเสมอภาค มียุทธศาสตร์ 5 ด้าน คือ การผลิตยาง, อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรม ไม้ยางพารา, การตลาด และการบริหารงาน ภาคยาง โดยมีมาตรการดำเนินการทั้งระยะ สั้นและระยะยาว
ต่อมา ครม. มีมติเห็นชอบ “ กรอบ แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ฯ ” เมื่อ วันที่ 7 ธ. ค.2542 ( กระทรวงเกษตรฯ เสนอ ) เป็นแนวทางการ ดำเนินงาน ของหน่วยงานต่างๆ เป็น แผนปฏิบัติงานในส่วนที่เกี่ยวข้องได้ และ เพื่อให้ยุทศาสตร์การพัฒนายางพาราครบ วงจร มีผลในทางปฏิบัติ
5 กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนา ยางพาราครบวงจร ( ) ด้านอุตสาหกรรมยาง 1. ปรับลดภาษีศุลกากร สารเคมี และวัตถุดิบอื่นๆ ผู้รับผิดชอบ - สอท. และสมาคมยางพาราไทย, สศอ., กรมศุลกากร 2. สนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ยางในประเทศและเพื่อส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, พณ., สถาบันการศึกษา, สวทช., BOI, สอท., สมอ., วว., กรมวิทยาศาสตร์บริการ 3. ประสิทธิภาพการแปรรูป ( ให้ได้การรับรองตามาตรฐานสากล ) 4. พัฒนาเทคโนโลยีด้านผลิตภัณฑ์ยาง ( เน้นการใช้ยางธรรมชาติมากขึ้นมี คุณภาพ ) 5. กำหนดและปรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางในประเทศให้เป็นสากล ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, สถาบันการศึกษา, สกว., BOI, สมาคมต่างๆ, วว., สวทช., กระทรวงแรงงาน ด้านอุตสาหกรรมไม้ยาง 1. ปรับปรุงพันธ์ยาง สนับสนุนแปรรูปไม้ การใช้ไม้ยางในประเทศ ( แก้ไข กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคการเคลื่อนย้ายไม้ยาง, เงินสงเคราะห์ปลูกยาง ) ผู้รับผิดชอบ - กระทรวงเกษตรฯ, พณ, อก., กระทรวงการคลัง, สวทช., วว., สมาคม ธุรกิจไม้ยางพาราไทย
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การ พัฒนายางพาราครบวงจร ( ) กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การ พัฒนายางพาราครบวงจร ( ) ด้านอุตสาหกรรมยาง 1. ปรับลดภาษีศุลกากร สารเคมี และวัตถุดิบอื่นๆ ผู้รับผิดชอบ - สอท. และสมาคมยางพาราไทย, สศอ., กรมศุลกากร 2. สนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ยางในประเทศและเพื่อ ส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, พณ., สถาบันการศึกษา, สวทช., BOI, สอท., สมอ., วว., กรม วิทยาศาสตร์บริการ
3. ประสิทธิภาพการแปรรูป ( ให้ได้การรับรองตา มาตรฐานสากล ) 4. พัฒนาเทคโนโลยีด้านผลิตภัณฑ์ยาง ( เน้นการใช้ยาง ธรรมชาติมากขึ้นมีคุณภาพ ) 5. กำหนดและปรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางในประเทศให้ เป็นสากล ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, สถาบันการศึกษา, สกว., BOI, สมาคมต่างๆ, วว., สวทช., กระทรวงแรงงาน
ด้านอุตสาหกรรมไม้ยาง 1. ปรับปรุงพันธ์ยาง สนับสนุนแปรรูปไม้ การใช้ไม้ยางใน ประเทศ ( แก้ไขกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคการเคลื่อนย้าย ไม้ยาง, เงินสงเคราะห์ปลูกยาง ) ผู้รับผิดชอบ - กระทรวงเกษตรฯ, พณ, อก., กระทรวงการคลัง, สวทช., วว., สมาคมธุรกิจไม้ยางพารา ไทย