การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
Advertisements

ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชาคมอาเซียน.
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนันต์ สิทธิวัฒนานนท์
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
Dream สถาบันส่งเสริม สุขภาพ บทบาท : ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย Service model Training center Research development Reference center Database network Referral.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
การจัดการความรู้ Knowledge Management
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

10. ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 10.1 ความหมายของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 10.2 แนวคิดของความร่วมมือ ในการบริการสารสนเทศ 10.3 พัฒนาการของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ

10.4 ลักษณะของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 10.5 ระดับของความร่วมมือ ในการบริการสารสนเทศ 10.6 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ของความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ

10.1 ความหมายของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศเป็นการดำเนิน กิจกรรมร่วมกันระหว่างองค์การ สารสนเทศตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป ที่มีเป้าหมายในการแลกเปลี่ยน สารสนเทศหรือทรัพยากร สารสนเทศ

 มีการกำหนดเป้าหมายและ วางแผนเพื่อการสร้าง สัมพันธภาพและบริการร่วมกัน  เปลี่ยนจากการเน้นความเป็น เจ้าของทรัพยากรสารสนเทศ ของสถาบันบริการสารสนเทศ ไปสู่การใช้ทรัพยากร สารสนเทศร่วมกัน และการ ส่งเสริมการเข้าถึงสารสนเทศ ของผู้ใช้อย่างกว้างขวาง

10.2 แนวคิดของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่ สามารถแบ่งปันกันได้  เพื่อการใช้สารสนเทศให้เกิด ประโยชน์สูงสุดและกว้างขวาง ที่สุด  เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกัน ในการเข้าถึงสารสนเทศของ มนุษย์ทุกคน

10.3 พัฒนาการของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  เริ่มจากกิจกรรมยืมระหว่าง ห้องสมุดซึ่งปรากฏหลักฐานว่า เกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่ยุคอียิปต์ โบราณ  ทศวรรษ 1960 เกิด สภาพการณ์การท่วมท้นของ สารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมี ราคาสูงขึ้นมาก

จึงรวมตัวกันจัดตั้ง “ เครือข่าย ห้องสมุด (Library Network)”  ทศวรรษที่ 1990 ได้รวมตัว กันจัดตั้ง “ ภาคีห้องสมุด (Library Consortium)” เพื่อ การต่อรองกับผู้จัดจำหน่าย เรื่องราคาและเงื่อนไขการใช้ สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

10.4 ลักษณะของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 1) ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศอย่างเป็นทางการ ( มีการจัดทำข้อตกลงเป็นลาย ลักษณ์อักษร จดทะเบียนในรูป นิติบุคคล ) 2) ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศอย่างไม่เป็น ทางการ

10.5 ระดับของความร่วมมือ ในการบริการสารสนเทศ 1) ความร่วมมือระดับท้องถิ่น 2) ความร่วมมือระดับชาติ 3) ความร่วมมือระดับภูมิภาค 4) ความร่วมมือระดับ นานาชาติ

1) ความร่วมมือระดับ ท้องถิ่น  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศที่ตั้งอยู่ในท้องถิ่น เดียวกัน  คำว่า “ ท้องถิ่น ” หมายถึง เขตอาณาบริเวณที่แต่ละ ประเทศใช้แบ่งพื้นที่เพื่อ ประโยชน์ทางการปกครอง เช่น มลรัฐ เมือง จังหวัด อำเภอ เป็นต้น

 ตัวอย่างของความร่วมมือ ระดับนี้ เช่น เครือข่าย ห้องสมุดมลรัฐอลาสกา เครือข่ายสารสนเทศ นครราชสีมา เป็นต้น

2) ความร่วมมือระดับชาติ  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศประเภทเดียวกัน หรือสาขาวิชาเดียวกันที่ตกลง ดำเนินงานร่วมกันอย่าง กว้างขวาง ทั่วทั้งประเทศ ทั่วทั้งประเทศ

 ตัวอย่างของความร่วมมือ ระดับนี้ เช่น เครือข่าย ห้องสมุดวิจัยเพื่อการศึกษา วิชาทหาร เครือข่าย ห้องสมุดแพทย์แห่งชาติ ข่ายงานห้องสมุด มหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) เครือข่าย ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เอกชน เป็นต้น

3) ความร่วมมือระดับ ภูมิภาค  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศที่ตั้งในเขตภูมิภาค เดียวกัน เช่น ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้หรือภูมิภาค เอเชียและแปซิฟิก  ตัวอย่าง : เครือข่ายสารสนเทศ ด้านการแพทย์ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMIC)

4) ความร่วมมือระดับ นานาชาติ  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศที่มีขอบเขตความ ร่วมมือกว้างขวางทั่วโลก  ตัวอย่าง : เครือข่าย OCLC เครือข่ายสารสนเทศทาง การเกษตรนานาชาติ (AGRIS) เครือข่ายห้องสมุด ระดับโลกด้านการบริหารงาน ยุติธรรม (WCJLN)

10.6 ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  ผู้บริหารระดับสูง : เห็นความ จำเป็นและประโยชน์ระยะยาวที่ เกิดจากความร่วมมือกำหนด นโยบาย หาแหล่งเงินทุน สนับสนุน มีความคิดสร้างสรรค์

 ผู้ปฏิบัติงาน : ยินดีและ พอใจที่จะยอมรับการ เปลี่ยนแปลง มีทัศนคติใน ทางบวก  ผู้ใช้ : ต้องได้รับข้อมูลที่ ถูกต้อง ชัดเจนเกี่ยวกับ บริการที่สามารถใช้ได้จาก องค์การสารสนเทศอื่นที่มี ข้อตกลงร่วมกัน