การอ่าน สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การใช้เกมการศึกษาในการพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขายานยนต์ (ชย.2101) วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การเขียนโครงร่างวิจัย
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
รูปแบบการนำเสนอผลงาน วิชา การนำเสนอรายงาน ภาคปลายการศึกษา 2549 ( งานกลุ่มวิชา ) 1. ให้นักศึกษาจัดทำรายงานเรื่อง “ บทบาทของการสื่อสารที่มีส่วนใน.
MULT2402 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
บทบาทหน้าที่ในงานนาฏศิลป์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การเขียนประเภทอื่น ๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
SMS News Distribute Service
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
THE4404 คติชนวิทยาสำหรับครู
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
THL3404 คติชนวิทยา อ.กฤติกา ผลเกิด.
Storyboard คืออะไร.
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Storyboard คืออะไร.
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่าน สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประเภทของเสียง เสียงที่ใช้ในงานมัลติมีเดียแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ เสียงเพลงบรรเลง เสียงพูด และเสียงประกอบ

เสียงเพลงบรรเลง เป็นเสียงที่ได้จากเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ มักใช้เพื่อสร้างอารมณ์ บรรยากาศ และ ความรู้สึกต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะจัดให้อยู่ใน รูปของเสียงที่เป็นฉากหลัง (Background) โดยแสดงไปพร้อมกับเสียงบรรยายหรือ เสียงพูด แต่ควรระมัดระวังในเรื่องของระดับ เสียงที่จะต้องไม่เด่นกว่าเสียงบรรยายหรือ เสียงพูดจนทำให้ผู้ฟังสับสนได้

เสียงบรรยายหรือ เสียงพูด เป็นลักษณะของเสียงที่ใช้เพื่อนำเสนอ ข้อมูล หรือการสนทนาของตัวละคร ซึ่ง จุดเด่นจะอยู่ที่การเลือกใช้เสียงให้ สอดคล้องกับเนื้อหา และสอดคล้องกับ กลุ่มเป้าหมาย ในการออกแบบเสียง จุดสำคัญอยู่ที่การเตรียมบทเสียง (Sound script) ซึ่งผู้เขียนบทเสียงจะต้องเขียนโดย ใช้ถ้อยคำที่มีการสื่อความหมาย สละสลวย กะทัดรัด จูงใจ มีจังหวะคล้องจองกับการ นำเสนอภาพและข้อความหน้าจอ และ จะต้องสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย

เสียงประกอบหรือเสียงเอฟ เฟ็กต์ (Sound effect) คือ เสียงของการกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ใน สถานการณ์เฉพาะของสิ่งนั้น โดยแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คือ Synchronized sound มักจะเป็นสัญญาณเสียงสั้นๆ เช่น เสียงแก้ว แตก เคลื่อนย้ายสิ่งของ เป็นต้น ส่วนอีก ประเภทหนึ่ง คือ เสียงฉากหลัง (Background sound) มักใช้ประกอบการ นำเสนอหัวเรื่องหรือบทนำก่อนเข้าสู่ตัว เนื้อหาจริง หรือใช้ในตอนจบเนื้อหา เพื่อ แสดงถึงความแตกต่างในการนำเสนอ เนื้อหา

ข้อควรพิจารณา เกี่ยวกับการเลือกใช้ เสียง ในการเลือกใช้งานเสียงอย่างเหมาะสมและ ตรงตามเนื้อหา จะช่วยสร้างความน่าสนใจ ให้กับงานมัลติมีเดียได้เป็นอย่างดี ผู้ออกแบบจึงควรมีความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องของหลักการออกแบบและการใช้ เสียงในการนำเสนอ รวมถึงข้อควรพิจารณา ต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้