การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย
แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 1. ทฤษฎีต่างๆ 2. ประสบการณ์ของผู้วิจัย 3. การอ่านหนังสือหรือ วารสารเกี่ยวกับการวิจัย 4. ข้อเสนอแนะของ ผลงานวิจัยที่ได้ทำมาแล้ว 5. บทคัดย่องานวิจัย 6. ปัญหาที่ได้จากผู้อื่น
การวิเคราะห์ปัญหา วิจัย 1. ความจริงเกี่ยวกับปัญหา วิจัย 2. คำอธิบายเกี่ยวกับสาเหตุ ปัญหาวิจัย 3. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความจริงกับคำอธิบาย
การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย 1. การพิจารณา ความสำคัญของหัวเรื่อง ที่ควรทำวิจัย 2. สิ่งที่ควรพิจารณาใน ด้านส่วนตัว 3. การพิจารณาทางด้าน สังคม
การเขียนรายละเอียด เกี่ยวกับปัญหาวิจัย 1. การตั้งชื่อหัวข้อเรื่องวิจัย 2. การเขียนความเป็นมาและ ความสำคัญของปัญหา วิจัย 3. การกำหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย 4. การเขียนสมมติฐานการ วิจัย
สมมติฐานการวิจัย 1. ลักษณะของสมมติฐาน ที่ดี 2. การทดสอบสมมติฐาน 3. ประโยชน์ของ สมมติฐานที่มีต่อการวิจัย
ลักษณะของสมมติฐาน ที่ดี 1. มีความชัดเจนและ เฉพาะเจาะจง 2. เป็นสิงที่ทดสอบได้ 3. สอดคล้องกับความเป็น จริงในปัจจุบัน 4. เป็นคำง่ายๆ มี ความหมายชัดเจน 5. รับกับวัตถุประสงค์การ วิจัยแต่ละข้อ
การทดสอบสมมติฐาน 1. การพิจารณาผลที่จะ เกิดขึ้นตามมาถ้า สมมติฐานเป็นจริง 2. การเลือกวิธีทดสอบ 3. การยืนยันสมมติฐาน
ประโยชน์ของสมมติฐาน ที่มีต่อการวิจัย 1. ช่วยจำกัดขอบเขตและทำให้ ปัญหาวิจัยชัดเจนขึ้น 2. ช่วยเลือกข้อมูลที่จะนำมา ศึกษาได้ถูกต้องตรงประเด็น 3. ช่วยในการพิจารณาว่าตัวแปร อะไรบ้างที่จะนำมาศึกษา 4. ช่วยชี้แนวทางการกำหนดแบบ วิจัยที่เหมาะสม 5. ช่วยกำหนดขอบเขตในการ ตีความหมายของผลการวิจัย