บทที่ 2 วิชาชีพสอบบัญชี
วิวัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชีช่วง ศตวรรษที่ 20 วัตถุประสงค์ในการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ขอบเขตการตรวจสอบ การประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน การพัฒนาวิธีการตรวจสอบสมัยใหม่ การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี การเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ การประเมินความเสี่ยงจากการทุจริต
วิวัฒนาการการสอบบัญชีช่วง ศตวรรษที่ 21 มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ การใช้ IFRS ในนานาชาติ ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานที่เพิ่มมากขึ้น มาตรฐานการสอบบัญชีระหว่างประเทศ โดย IFAC Timeliness of accounting report บทบาทของการกำกับดูแลกิจการ และการรายงานความเสี่ยง ความซับซ้อนของรายงการค้าและการใช้เครื่องมือทางการเงิน
วิชาชีพสอบบัญชีในไทย วิวัฒนาการของวิชาชีพบัญชี และ การสอบบัญชีในไทย พ.ศ. 2418 - 2554
สถาบันทางการบัญชีต่างประเทศ สหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ (IFAC) สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (AICPA) สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งอังกฤษและเวลส์ (ICAEW) สถาบันผู้ตรวจสอบภายในสากล (IIA) สมาคมผู้ตรวจสอบและควบคุมระบบสารสนเทศ (ISACA)
สถาบันทางการบัญชีในไทย สถาบันการศึกษา สถาบันวิชาชีพ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย สมาคมการบัญชีไทย สถาบันกำกับดูแล คณะกรรมการกำกับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี หน่วยงานอื่นของรัฐ
กฎหมายการบัญชีของไทย พระราชบัญญัติการบัญชี 2543 มาตรฐานการรายงานการเงินสำหรับกิจการที่มีและไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชี พ.ศ. 2543 ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง การพัฒนาความรู้ทางวิชาชีพต่อเนื่องของผู้ ประกอบวิชาชีพบัญชี
กฎหมายการสอบบัญชีของไทย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2472 กฎกระทรวงกำหนดหลักประกันความรับผิดต่อบุคคลที่สามของผู้ประกอบวิชาชีพ บัญชี พ.ศ. 2553 จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ตามข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 19