ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 30 มีนาคม 2558
ความสำคัญของอาเซียนต่อไทย การค้า การผงาดขึ้นมาของอาเซียนเป็นขั้วเศรษฐกิจโลก อำนาจการต่อรอง อาเซียนเป็นแกนกลางสถาปัตยกรรมของภูมิภาค ด้านความมั่นคง ด้านสังคมวัฒนธรรม ประชาคมอาเซียน ครอบครัวเดียวกัน บ้านหลังเดียวกัน
วิวัฒนาการของประชาคมอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน 1967 การประชุมสุดยอดบาหลี 1976 PTA, AIC, AIP, AIJV เวียดนามบุกยึดเขมร 1978 อาเซียนในยุคหลังสงครามเย็น
การประชุมสุดยอดที่สิงคโปร์ 1992 AFTA , ARF การประชุมสุดยอดที่ กรุงเทพฯ 1995 SEANWFZ SEA-10
อาเซียนในยุควิกฤติเศรษฐกิจ Initiative for ASEAN Integration (IAI) การประชุมสุดยอดที่บาหลี 2003 ASEAN Community by 2020/2015
แผนการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
การเมืองและความมั่นคง ประชาคม การเมืองและความมั่นคง
การพัฒนาความร่วมมือด้านการเมือง กลไกป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง ความมั่นคงรูปแบบใหม่ สร้างความเข้มแข็งความร่วมมือการจัดการกับ ภัยพิบัติและการเตรียมความพร้อมในการรับมือ กับภาวะฉุกเฉิน
ประชาคมเศรษฐกิจ
การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว - การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี - การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี - การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี - การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีขึ้น - การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ประชาคม สังคมและวัฒนธรรม
การพัฒนามนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิ ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
ผลกระทบของประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียนต่อไทย - ผลกระทบเชิงบวก ความร่วมมือระหว่างอาเซียนเพิ่มขึ้น - ผลกระทบเชิงลบ ปัญหาเพิ่มมากขึ้น
ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อไทย - ผลกระทบเชิงบวก - สินค้าและบริการที่ไทยมีความได้เปรียบ จะมีโอกาสส่งออก ไปในตลาดอาเซียนมากขึ้น ธุรกิจไทยจะมีโอกาสเข้าไปลงทุนในประเทศอาเซียนมาก ขึ้น ไทยมีศักยภาพเป็นศูนย์กลางโครงสร้างพื้นฐานของอาเซียน
- ผลกระทบเชิงลบ สินค้าและบริการที่ไทยเสียเปรียบ อาจประสบปัญหาใน การแข่งขันกับต่างประเทศ จะมีการลงทุนจากประเทศอาเซียนเข้ามาในไทยมากขึ้น ทำให้เกิดการแข่งขันสูงขึ้น
ผลกระทบของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ต่อไทย - ผลกระทบเชิงบวก มีความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น มีการปรับมาตรฐานสูงขึ้น - ผลกระทบเชิงลบ - จะมีปัญหาในด้านต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
จุดอ่อนและจุดแข็งของไทย ไทยมีศักยภาพเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียน ไทยมีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางทางด้านการท่องเที่ยว ของอาเซียน ไทยมีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางภาคบริการของอาเซียน
จุดแข็ง (ต่อ) ไทยเป็นศูนย์กลางโครงสร้างพื้นฐานของอาเซียน ไทยมีศักยภาพเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาของ อาเซียน ไทยมีศักยภาพที่จะมีบทบาทนำในกาสร้างอัตลักษณ์ อาเซียน
จุดอ่อน ไทยยังมีปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เรื่องระบบ โทรคมนาคม ปัญหาสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ปัญหา การจราจร และปัญหาน้ำท่วม ไทยยังมีความไม่พร้อมในด้านบุคลากร โครงสร้าง องค์กร กระบวนการทำงาน การให้บริการที่เพียงพอ และมีคุณภาพ และฐานข้อมูลสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนของไทย
ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของ ประชาคมอาเซียน วิสัยทัศน์ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของ ประชาคมอาเซียน
ไทยเป็นประเทศแห่งสิทธิมนุษยชนในอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 1: ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ไทยเป็นประเทศแห่งสิทธิมนุษยชนในอาเซียน ร่วมมือในการจัดการปัญหาความมั่นคงใน รูปแบบใหม่ในกรอบอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไทยเป็นศูนย์กลางการค้าและบริการของอาเซียน ไทยเป็นศูนย์กลางโครงสร้างพื้นฐานของอาเซียน ไทยเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ไทย เป็นประเทศชั้นนำในด้านการศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของอาเซียน
ไทยมีบทบาทนำในการเสริมสร้างความ ร่วมมือในด้าน - สวัสดิการสังคม - สิทธิผู้ด้อยโอกาส - สิ่งแวดล้อม
ไทยมีบทบาทนำในการสร้างอัตลักษณ์ อาเซียน ไทยเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยน ศิลปวัฒนธรรมในอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 4: ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน บุคลากรของไทยมีความพร้อมทั้งในด้านทักษะ สมรรถนะ และทัศนคติในการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน
ปรับโครงสร้างองค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน ที่สร้างโอกาสการทำงานเชิงรุกใน ระดับอาเซียนและในระดับนานาชาติ จัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน