การเขียนโครงร่างวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

System Requirement Collection (2)
การประเมินรายงาน การวิจัย (An Evaluation of Research Report) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้น จิตร ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)

แบบสอบถาม (Questionnaire)
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การเขียนเค้าโครงการวิจัย (Research Proposal)
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
16. การเขียนงานวิจัยแบบง่าย ๆ
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
Seminar 1-3.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเขียนหัวข้อ (Proposal) ที่ดี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การขอโครงการวิจัย.
SMS News Distribute Service
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโครงร่างวิจัย อ วิไล อุดมพิทยาสรรพ์

การเขียนโครงร่างการวิจัย เพื่อตอบคำถาม 3 คำถามคือ ทำไปทำไม( Why) จะทำอะไร (What) และจะทำอย่างไร (How)

องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย จะมีแบบต่างกันตามแหล่งทุนต่างๆ โดยทั่วไปมีหัวข้อที่คล้ายกัน

การเขียนเพื่อตอบคำถาม Why (ทำไปทำไม) มีความจำเป็น มีคุณค่าและมีประโยชน์ ต้องแสดงให้เห็นว่าผู้วิจัยมีความรู้พื้นฐานและเข้าใจปัญหาที่กำลังจะศึกษาอย่างถ่องแท้ สามารถเชื่อมโยงเข้าสู่กรอบแนวความคิดของการวิจัย ระบุได้ว่ามีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้หรือไม่ มีที่ใดบ้าง และการศึกษานี้จะมีส่วนช่วยเพิ่มคุณค่าได้อย่างไร หัวข้อที่ใช้การเขียนเพื่อตอบคำถามว่าทำไปทำไมของแหล่งทุนต่างๆ เช่น Introduction , Background of the study

การเขียนเพื่อตอบคำถาม What (จะทำอะไร) คือวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ผู้วิจัยต้องกำหนดให้ชัดเจน เฉพาะเจาะจงว่าจะทำอะไร บอกสิ่งที่จะทำทั้งขอบเขตและคำตอบที่คาดว่าจะได้รับ การตั้งวัตถุประสงค์ต้องให้สมเหตุสมผลกับทรัพยากรที่เสนอขอและเวลาในการปฏิบัติงาน และต้อง

การเขียนเพื่อตอบคำถาม How (จะทำอย่างไร) กรอบแนวความคิดในการวิจัย ( Conceptual framework ) เขียนเป็นแผนภูมิ กรอบแนวคิดที่ดี จะช่วยให้ผู้อ่านทราบว่า ในงานวิจัยต้องเก็บข้อมูลอะไรบ้าง และข้อมูลมีความเชื่อมโยงและสัมพันธ์กันอย่างไร รูปแบบการวิจัย (Research design) ที่จะใช้ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับคำถามและวัตถุประสงค์ สถิติ (Statistics) ที่ใช้

องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย 1 ชื่อโครงการ หรือชื่อเรื่อง (The Title) ชื่อเรื่องเป็นส่วนดึงดูดความสนใจจุดแรกของโครงร่างการวิจัย โดยทั่วไปชื่อหัวข้อจะทำให้ทราบประเภทของการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา โดยเฉพาะตัวแปรตามและประชากรของงานวิจัย

องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย 2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เขียนให้เห็นสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ควรมีข้อมูลสถิติสนับสนุน ผลกระทบของปัญหาที่เกิดขึ้นเกิดขึ้น ความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องศึกษาวิจัย ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ เชื่อมโยงกันในแต่ละย่อหน้า เขียนให้สอดคล้องกับชื่อเรื่องที่จะทำวิจัย เขียนให้ครอบคลุมตัวแปรที่ศึกษา

3.คำถามการวิจัย (Research question) เขียนในรูปประโยคคำถาม อาจมีคำถามหลายข้อก็ได้

4. วัตถุประสงค์การวิจัย เขียนในรูปประโยคบอกเล่า สอดคล้องกับคำถามการวิจัย

5. สมมติฐานการวิจัย ควรเขียนให้สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย และวัตถุประสงค์ สมมติฐาน เป็นการคาดคะเน (Predict) หรือการทายคำตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล มักเขียนในลักษณะการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ (Independent variables) และตัวแปรตาม (Dependent variables) งานวิจัยบางอย่างไม่จำเป็นต้องมีสมมติฐาน

6. ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumption) เป็นการระบุเงื่อนไขบางประการเพื่อตกลงกับผู้อ่าน 7. คำนิยามศัพท์เฉพาะหรือคำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย ควรเขียนนิยามศัพท์ที่สอดคล้องกับชื่อเรื่องหรือตัวแปรที่ศึกษา

8. กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual research) หมายถึง ความคิดรวบยอดที่ได้จากการทบทวนทฤษฎีวรรณกรรม โดยกรอบแนวคิดจะต้องแสดงให้เห็นความสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์ของตัวแปร ที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา

9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ควรเขียนให้เห็นว่า ผลการวิจัยจะนำไปใช้ประโยชน์กับใคร อย่างไร 10. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

11. วิธีดำเนินการวิจัย (บทที่ 3) - ประชากร - กลุ่มตัวอย่าง - เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระบุเครื่องมือที่ใช้มีอะไรบ้าง เป็นเครื่องมือของใคร เกณฑ์การให้คะแนน การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทำอย่างไร

การดำเนินการทดลอง (ในกรณีเป็นการวิจัยแบบทดลองหรือกึ่งทดลอง) การรวบรวมข้อมูล ระบุขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยสรุป รวมถึงการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล ให้ระบุสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ควรเขียนระบุเป็นข้อๆ ให้เรียงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย

12. การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่างว่าทำอย่างไรบ้าง และมีแบบฟอร์มในการให้ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างเพื่อตัดสินใจในการเข้าร่วมงานวิจัย

13. ระยะเวลาวิจัย 14. แผนการดำเนินงานวิจัยตลอดโครงการ 15 13. ระยะเวลาวิจัย 14. แผนการดำเนินงานวิจัยตลอดโครงการ 15. งบประมาณวิจัย 16. การเขียนอ้างอิงหรือบรรณานุกรมตามข้อกำหนดของแหล่งทุน