นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ผู้อำนวยการกองแผนงาน กรมส่งเสริมการเกษตร
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
 อำเภอ  จังหวัด  เขต / สลคช.  กรม / หน่วยงานภาคี  วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย  สถาบันการศึกษา  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บุคคลทั่วไป.
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการ รมต.กษ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 5 บทสรุป วิชาการสร้างเสริมประสิทธิภาพงานส่งเสริมการเกษตร
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทางการจัดเวทีการขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ปี 2559
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร การส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ โดย นายโอฬาร พิทักษ์  อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน เป็นการปรับวิธีการส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่เพื่อช่วยให้ เกษตรกรรายย่อยต้นทุนการผลิตลง สามารถใช้เครื่องมือ เครื่องจักรกลมาช่วยในการผลิตได้ เข้าถึงเทคโนโลยีได้มากขึ้น สามารถจัดการการผลิตผลผลิตอย่างมืออาชีพ (farmer manager) สามารถเข้าถึงการตลาดและมีอำนาจต่อรองทางการตลาดสูงขึ้น

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 2. เป็นการส่งเสริมให้พื้นที่การผลิตสินค้าชนิดเดียวกันรวมการผลิตเป็นแปลงใหญ่ขึ้น โดยที่เจ้าของแปลงทุกแปลงยังคงเป็นเจ้าของและผู้ผลิตในแปลงนั้นๆอยู่ 3. การจัดการในลักษณะแปลงใหญ่ให้เป็นไปได้และมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องมีผู้มาช่วยทำหน้าที่เป็นผู้จัดการพื้นที่โครงการ (Filed manager)

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 4. การเลือกพื้นที่และชนิดสินค้า จำเป็นต้องทำร่วมกัน ต้องบูรณาการหน่วยงานที่เชี่ยวชาญแต่ละด้าน (function /commodity approach)

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 5. มอบหมายให้หน่วยงานเลือกพื้นที่ทำหน้าที่เป็น ผู้จัดการพื้นที่โครงการ (field manager) กรณีของ กรมส่งเสริมการเกษตร ให้เจ้าหน้าที่เป็นผู้จัดการพื้นที่ ใช้ระบบ MRCF เป็นระบบปฏิบัติงาน เน้นการจัดการข้อมูลพื้นที่ การเชื่อมโยง IT smart phone ฯลฯ การมีส่วนร่วมกับชุมชน (ศบกต.) และการบูรณาการหน่วยงานร่วม

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 6. พื้นที่ที่ได้รับเลือกเข้าร่วมโครงการต้องมีหลักเกณฑ์ การพิจารณา กรณี กรมส่งเสริมการเกษตร เลือกชนิดสินค้า 219 จุด พื้นที่ที่เลือกต้องมีขนาดพื้นที่ทำการผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน ติดกัน หรือต่อเนื่องกัน มีลักษณะทางสังคม การปกครอง ที่จะบริหารจัดการร่วมกันได้ พื้นที่ระหว่าง 300-5,000 ไร่ ขึ้นกับชนิดพืช ลักษณะพื้นที่และความพร้อมของเกษตรกร และการตลาด

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 7. จะต้องมีข้อมูลของพื้นที่ Zoning ควรเลือกพื้นที่โครงการที่เหมาะสม S1-S3 เป็นพื้นที่ดำเนินการ มีข้อมูลของเกษตรกร (Smart farmers ต้นแบบ Smart farmer หรือ Developing Smart Farmers) มีข้อมูลของการผลิตสินค้า (พันธุ์/ผลผลิต/ ปัญหาการผลิต/ตลาด/ปัญหาและแนวทางการพัฒนา) มีประเด็นในการส่งเสริม (Impact point) เพื่อกำหนดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 8. ผู้จัดการ จะเป็นผู้บริหารจัดการข้อมูล คน พื้นที่ กิจกรรมให้สอดคล้องกัน ต้องมีอำนาจเชื่อมโยงให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่างๆ เข้ามาทำงานในพื้นที่ได้ตรงประเด็น และได้อย่างรวดเร็ว ไม่ผ่านขั้นตอนมาก

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 9. การบริหารจัดการโครงการ ผู้จัดการโครงการ Field manager ในระดับจังหวัด มี Project managers หน่วยงานสนับสนุน Field managers Program Director (รองปลัดฯ) Program managers (อธิบดี)

หลักคิดและแนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 10. จุดอ่อนที่สำคัญของการพัฒนาการเกษตร แต่ละหน่วยงานเข้าไปดำเนินการกันเอง มีเป้าหมายตนเอง ทั้งพื้นที่และเกษตรกร เน้นหลักเฉพาะงานตนเอง ยังขาดความเข้าใจในโครงการบริหารจัดการ