สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จังหวัดสมุทรปราการ.
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

การส่งเสริมสุขภาพ กระบวนการหลัก 1 2 กระบวนการสนับสนุน ปัจจัยภายนอก / สภาพแวดล้อมภายนอก ส่วนงานก่อนหน้า/วัตถุดิบ (Supplier) ปัจจัยนำเข้า (Input) ผลผลิต (Output) ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการหลัก 1 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ 2 การส่งเสริมสุขภาพ กระบวนการสนับสนุน (4M+1E+1I)

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การส่งเสริมสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดีตามเกณฑ์ รายชื่อกระบวนการ ขอบเขต หน่วยงานเจ้าภาพหลัก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย เริ่มจากการวิเคราะห์ทบทวนข้อมูลผลการดำเนินงานสภาวะแวดล้อม และปัญหา กำหนดทิศทางการดำเนินงาน แผนงาน/โครงการ ตลอดจนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งในระยะยาวและระยะสั้น ไม่ครอบคลุมการติดตามประเมินผล กสภ. กทส. / สพธ. 2. การส่งเสริมสุขภาพ ครอบคลุมงานด้านสร้างเสริมสุขภาพบุคคลและครอบครัว สาธารณสุขชุมชน สุขภาพจิต โภชนาการ สนับสนุนบริการสุขภาพ และการให้บริการทันตสาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมาย เริ่มจากการพัฒนามาตรฐาน การนิเทศกำกับติดตามการดำเนินการตามมาตรฐาน และการรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลด้านการส่งเสริมสุขภาพ กทส. / สพธ. / ศบส. / .....

การส่งเสริมสุขภาพ กสภ. กทส. กพธ. ศบส. ... 1 2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ ....................... 1 จัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาและสื่อสารมาตรฐาน / รูปแบบ / แนวทาง ให้บริการ ให้บริการ ให้บริการ 2 ติดตามประเมินผลการดำเนินการตามมาตรฐาน รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการส่งเสริมสุขภาพ

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ หน่วยงานและบุคลากรของสำนักอนามัย มีทิศทางที่ชัดเจน สามารถเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้บริหาร สอดคล้องกับนโยบาย ประชาชน เห็นผลลัพธ์เชิงสุขภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ หน่วยงานภาครัฐ แผนมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รับทราบทิศทางการดำเนินงานที่ชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการจัดทำแผน ข้อกำหนดที่สำคัญ สอดคล้องกับนโยบาย และแผนที่เกี่ยวข้อง มีทิศทางที่ชัดเจน ได้รับการนำไปปฏิบัติ สอดคล้องกับสถานการณ์ในเชิงพื้นที่ มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน มีภาคีเครือข่ายร่วมจัดทำแผน ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า ครอบคลุมบริการตาม พ.ร.บ. ผู้สูงอายุ?? การดำเนินการและผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายของแผน มีการบูรณาการการส่งเสริมสุขภาพระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เห็นผลลัพธ์เชิงสุขภาพที่ชัดเจน ตัวชี้วัด

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ข้อกำหนดที่สำคัญ (Requirement) ปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุมเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ ประเภทปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุม องค์ความรู้และเทคโนโลยี ขั้นตอน/ระยะเวลาปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช้จ่าย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สอดคล้องกับนโยบาย และแผนที่เกี่ยวข้อง นำนโยบาย และแผนที่เกี่ยวข้องมาพิจารณา ก่อนการกำหนดผลที่คาดหวังและเป้าหมาย X 2 มีทิศทางที่ชัดเจน มีแผนระยะยาว ระบุผลที่คาดหวังในเชิงผลลัพธ์ที่ชัดเจนสำหรับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการนำไปปฏิบัติ จัดทำ Strategy map และสื่อสารไปยังผู้ปฏิบัติให้เกิดความเข้าใจในผลที่คาดหวัง แล้วเสร็จก่อนการของบประมาณ (เดือนธันวาคม) 5 All สอดคล้องกับสถานการณ์ในเชิงพื้นที่ มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพเชิงพื้นที่ ตามกลุ่มเป้าหมาย (ตามเกณฑ์) 1 มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ประชุมร่วมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกำหนดผู้รับผิดชอบร่วม มีภาคีเครือข่ายร่วมจัดทำแผน เชิญภาคีเครือข่ายเข้าร่วมในขั้นตอนต่างๆ ที่เหมาะสม หรือ มีการรับฟังความคิดเห็นจากภาคีเครือข่าย 6 7

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 1. ประชุมทบทวนผลการดำเนินงาน และวิเคราะห์ประเมินสภาพแวดล้อม กสภ. (กทส. สพธ.) ภายในเดือน ......... ทบทวนข้อมูลผลการดำเนินงานสภาวะแวดล้อม และปัญหา จาก รายงานการติดตามวิเคราะห์สารสนเทศสุขภาพ รายงานผลการปฏิบัติราชการ .......... วิเคราะห์ข้อมูลในเชิงพื้นที่ ตามกลุ่มเป้าหมาย และสภาพปัญหาตามเกณฑ์ จัดลำดับความสำคัญของการปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน และสภาพปัญหา โดยใช้เทคนิคในการวิเคราะห์ เช่น Vital few, Pareto, ตาราง 2 ปัจจัย - รายงานการประชุม ที่แสดงผลการดำเนิน งานและวิเคราะห์สภาพ แวดล้อมและปัญหา ............ เกณฑ์สุขภาพแต่ละช่วงวัย 2. ทบทวน/กำหนดทิศทางการดำเนินงาน โดยทบทวนวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว และผลการดำเนินการที่คาดหวัง ภายในเดือน......... มีการทบทวนและประเมินทิศทางในองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ ความสอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหาร และภารกิจ ความสอดคล้องกับแผนของหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (อาจระบุ ......) สภาพความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทักษะ/สมรรถนะหลักที่จำเป็น ทบทวน/กำหนดเป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว และผลลัพธ์ที่คาดหวังตามกลุ่มเป้าหมาย ผลการกำหนดทิศทางการดำเนินงาน ตามกลุ่ม เป้าหมาย นโยบาย... แผน ...... รายงานการวิเคราะห์ปัญหา Start วิเคราะห์ปัญหา กำหนดทิศทางและผลลัพธ์ที่คาดหวัง A

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 3. ประชุมกำหนดยุทธศาสตร์ โดยกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย กสภ. (กทส. สพธ.) ภายในเดือน ......... กำหนดตัวชี้วัดในระดับผลลัพธ์ (outcome KPIs) และค่าเป้าหมายโดยพิจารณาผลการดำเนินงานของหน่วยงานเทียบเคียง (ถ้ามี) กำหนดระยะเวลาในการบรรลุเป้าประสงค์ดังกล่าวที่สอดคล้องกับกรอบเวลาในการทบทวนผลการดำเนินงาน ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ตามเกณฑ์ที่เหมาะสม - ผลการกำหนดยุทธศาสตร์ 4. ประชุมกำหนด กลยุทธ์หลักในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์หลัก โดย วิเคราะห์ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (KSF-Key Success Factor) พิจารณาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค กำหนดกลยุทธ์หลักที่สอดคล้องกับ KSF และผลการ SWOT กำหนดตัวชี้วัดในระดับผลผลิต (output KPIs) และค่าเป้าหมายสำหรับแต่ละกลยุทธ์หลัก ผลการกำหนดกลยุทธ์หลัก 5. จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) และสื่อสารทำความเข้าใจ จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ตามหลักการของ Balanced scorecard โดยประยุกต์เข้ากับกรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ สื่อสารทำความเข้าใจในผลที่คาดหวัง และยุทธศาสตร์กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยจัดช่องทางการสื่อสารสองทาง และมีการสำรวจประเมินความเข้าใจ (ใคร)ติดตามสรุปผลการประเมินความเข้าใจในยุทธศาสตร์ของบุคลากร แผนที่ยุทธศาสตร์ บันทึกการสื่อสาร ผลการประเมินความเข้าใจฯ A กำหนดประเด็นยุทธ ศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์ สื่อสารทิศทาง B

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 6. กำหนดแผนงาน / โครงการที่จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ กสภ. (กทส. สพธ.) ภายในเดือน ......... วิเคราะห์กำหนดแผนงาน / โครงการ โดย พิจารณาทั้งในด้านผลผลิต ผลลัพธ์ ความเสี่ยง ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับโครงการอื่นๆ และงบประมาณที่ใช้ กำหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการให้ชัดเจน วิเคราะห์ความเสี่ยงของแผนงาน/โครงการ จัดลำดับความสำคัญของแผนงาน/โครงการ ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่าย (ระบุ ......) (ใคร) สุ่มตรวจสอบการวิเคราะห์โครงการ แบบฟอร์มการวิเคราะห์โครงการ 7. รวบรวมแผนงาน / โครงการ และจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ ภายในเดือนธ.ค. จัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพเสนอ.......... มีการรับฟังความคิดเห็นจากภาคีเครือข่าย และปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ - ร่างแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สรุปผลการรับฟังความคิดเห็น B กำหนดแผนงาน/โครงการ จัดทำแผนยุทธ ศาสตร์ End หมายเหตุ – อาจพิจารณาเพิ่มเติมประเด็น ดังต่อไปนี้ การวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยง การขออนุมัติกรอบทิศทางการดำเนินงานจากผู้บริหาร ก่อนการสื่อสารไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์การปรับปรุงกระบวนการ สมรรถนะ และองค์ความรู้ที่จำเป็น การสื่อสารแผนยุทธศาสตร์ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การติดตามประเมินผล (อาจแยกเป็นอีกกระบวนการหนึ่ง)

ประสิทธิภาพของกระบวนการ การส่งเสริมสุขภาพ ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกวัย มีการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม พฤติกรรมด้านสุขภาพที่เหมาะสม ไม่เจ็บป่วยเป็นโรคเรื้อรัง มีการส่งเสริมสุขภาพในหลากหลายรูปแบบ น่าสนใจ และทันต่อเหตุการณ์ สื่อด้านการส่งเสริมสุขภาพเข้าใจง่าย และสามารถนำไปปฏิบัติได้สะดวก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากรในศูนย์บริการสาธารณสุข มีมาตรฐาน / แนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน รับรู้และเข้าใจในมาตรฐาน / แนวทางการปฏิบัติ มาตรฐาน / แนวทางการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ เป็นไปตามหลักวิชาการ มีสื่อสำเร็จรูป สำหรับการเผยแพร่ต่อ ไม่ซ้ำซ้อน (หลายกอง ให้ทำหลายอย่าง ซ้ำกัน) ไม่ขัดกับมาตรฐานอื่น โรงเรียน / ชุมชน / ... หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ การดำเนินการสอดคล้องและส่งเสริมกัน ไม่ขัดแย้ง มีข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพของ กทม. ข้อกำหนดที่สำคัญ ส่งเสริมสุขภาพองค์รวม มีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ และทันต่อเหตุการณ์ เป็นไปตามหลักวิชาการ มีสื่อสำเร็จรูปที่เข้าใจง่าย เผยแพร่ต่อได้ มีมาตรฐาน / แนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน และเข้าใจง่ายในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ มาตรฐาน / แนวทางไม่ซ้ำซ้อน และไม่ขัดกับมาตรฐานอื่น ส่งเสริมสุขภาพในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ตามประเด็นที่เป้นปัญหา ในเชิงพื้นที่ ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มเป้าหมายในประเด็นที่เหมาะสมตามสภาพปัญหาและสถานการณ์ด้านสุขภาพของแต่ละพื้นที่ ตัวชี้วัด

การส่งเสริมสุขภาพ ข้อกำหนดที่สำคัญ (Requirement) ปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุมเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ ประเภทปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุม องค์ความรู้และเทคโนโลยี ขั้นตอน/ระยะเวลาปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช้จ่าย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งเสริมสุขภาพองค์รวม มีการจัดทำมาตรฐาน/แนวทางที่ประชุมร่วมหน่วยงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อบูรณาการการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม X 3 มีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ และทันต่อเหตุการณ์ ติดตามสถานการณ์และสภาพปัญหาด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง (มีการเฝ้าระวัง (HOW????) – เรื่องร้องเรียน / ข่าว / โรค / ฯลฯ) ติดตามรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของพื้นที่อื่นๆ 1 เป็นไปตามหลักวิชาการ (ทั้งการทำมาตรฐานหลักเกณฑ์ และการบริการส่งเสริมสุขภาพ) อ้างอิงมาตรฐานระดับสากล หรือแหล่งข้อมูลทางวิชาการต่างๆ ติดตามกำกับดูแลการส่งเสริมสุขภาพตามมาตรฐาน/หลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น 5 11 มีสื่อสำเร็จรูปที่เข้าใจง่าย เผยแพร่ต่อได้ วิเคราะห์รูปแบบของสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย ทดลอง สอบทานความเข้าใจในสื่อ 9 มีมาตรฐาน / แนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน และเข้าใจง่ายในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ มีการทบทวนและทดลองใช้ โดยผู้ใช้มาตรฐาน มีประเด็นปัญหาการใช้มาตรฐาน/แนวทางที่เกิดขึ้น มีตัวอย่างประกอบ ที่ครอบคลุมกรณีศึกษาต่างๆ มีกระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจกับผู้นำมาตรฐานไปใช้ 6 มาตรฐาน / แนวทางไม่ซ้ำซ้อน และไม่ขัดกับมาตรฐานอื่น มีการศึกษาและสรุปประเด็นมาตรฐาน/หลักเกณฑ์ของหน่วยงานต่างๆ ด้านการส่งเสริมสุขภาพเป็นประเด็นที่ชัดเจน ตามหน่วยงานรับผิดชอบ (Matrix) 2 ส่งเสริมสุขภาพในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ตามประเด็นที่เป้นปัญหา ในเชิงพื้นที่ มีข้อมูลสถานการณ์และสภาพปัญหาด้านสุขภาพตามวัยในเชิงพื้นที่ มีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

การส่งเสริมสุขภาพ Start วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์รายการมาตรฐาน Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 1. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ รวบรวมข้อมูล เช่น ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ มาตรฐาน / หลักเกณฑ์ / กฎหมายใหม่ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ผลการใช้มาตรฐาน / หลักเกณฑ์ (การดำเนินการตาม และปัญหาจากการใช้) Checklist ข้อมูลที่ต้องรวบรวม - 2. วิเคราะห์รายการมาตรฐานที่ต้องมี / ทบทวน วิเคราะห์รายการมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทางที่ควรมี โดยพิจารณาจาก ยุทธศาสตร์ และพันธิจ ภารกิจ หน้าที่ที่รับผิดชอบ สถานการณ์ แนวโน้มสุขภาพ เปรียบเทียบกับหน่วยงาน/ประเทศอื่น คุณภาพการให้บริการ และข้อร้องเรียน ผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ระบุวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายของมาตรฐานแต่ละฉบับที่จะจัดทำ/ทบทวน ตารางวิเคราะห์รายการมาตรฐาน รายการมาตรฐาน/ หลักเกณฑ์ /แนวปฏิบัติที่มีอยู่ ข้อมูลตามที่ระบุในมาตรฐานงาน 3. คัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐาน คกก. ได้รับการแต่งตั้งโดย..... คณะกรรมการ ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า ...... คน โดยมีองค์ประกอบและคุณสมบัติตามที่ระบุใน.....................กำหนดองค์ประกอบและคุณสมบัติของ คกก. พัฒนามาตรฐาน แบบประเมินคุณสมบัติ คกก. คำสั่งแต่งตั้ง คกก. พัฒนามาตรฐาน ................. กำหนดองค์ประกอบและคุณสมบัติของ คกก. พัฒนามาตรฐาน Start วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์รายการมาตรฐาน แต่งตั้ง คกก.พัฒนามาตรฐาน A

การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 4. กำหนดกรอบมาตรฐาน พร้อมทั้งจัดทำแผนกิจกรรม ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบในการดำเนินการแต่ละกิจกรรม กำหนดหัวข้อที่ต้องมีในมาตรฐาน เช่น วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย นิยาม/คำจำกัดความ ประเด็นสำคัญของมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทาง การนำไปใช้ การติดตามการใช้มาตรฐานรูปแบบต่างๆ การติดตามประเมินผลที่คาดหวังตามวัตถุประสงค์ แหล่งข้อมูลอ้างอิง แผนการจัดทำ/ทบทวนมาตรฐาน ระบุกิจกรรมตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล ยกร่าง ทดลองใช้ ปรับปรุง ประกาศใช้ และดำเนินการสื่อสารประชาสัมพันธ์ คกก. พัฒนามาตรฐานทบทวนหัวข้อในร่างมาตรฐานว่าเป็นไปตามกรอบที่กำหนดในข้อ 4. กรอบหัวข้อของมาตรฐาน แผนการจัดทำ/ทบทวนมาตรฐาน - 5. ยกร่างมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทาง จัดทำตารางสรุปรายละเอียดแต่ละหัวข้อเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากล และ/หรือมาตรฐานจากหน่วยงานอื่นที่นำมาอ้างอิง ตรวจสอบเนื้อหาในแต่ละประเด็นว่าไม่ขัดแย้งกับมาตรฐานอื่นๆ จัดทำตารางสรุปการแก้ปัญหาของการไม่สามารถดำเนินการของมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทางอื่น (ข้อมูลจากข้อ 1.) อ้างอิงแหล่งที่มาของเนื้อหาในแต่ละประเด็นให้ชัดเจน กรณีปรับปรุง – ให้ระบุประเด็นที่แตกต่างจากมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทางเดิม ตารางปรียบเทียบเนื้อหามาตรฐาน ตารางสรุปการแก้ปัญหา ร่างมาตรฐาน ผลการใช้มาตรฐาน / หลักเกณฑ์ (การดำเนินการตาม และปัญหาจากการใช้) – จากข้อ 1. A กำหนดกรอบมาตรฐาน จัดทำ/ทบทวนมาตรฐาน B

การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 6. ทดลองใช้มาตรฐานเพื่อประเมิน ความสามารถในการนำไปใช้ที่ครอบคลุมกรณีต่างๆ ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ทดลองใช้มาตรฐานโดยมีผู้ปฏิบัติจริงเข้าร่วม ทดลองใช้ในกรณีตัวอย่างที่ครอบคลุมสถานการณ์/กลุ่มตัวอย่างต่างๆ สอบทานความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการพัฒนา/ทบทวนมาตรฐาน สรุปผลการทดลองใช้มาตรฐานในกรณีต่างๆ พร้อมประเด็นการปรับปรุงที่จำเป็น (ถ้ามี) บันทึกและสรุปผลการประเมิน/สอบทานมาตรฐานในกรณีต่างๆ ร่างมาตรฐาน 7. ปรับปรุงมาตรฐานตามประเด็นการปรับปรุง ปรับปรุงมาตรฐานตามประเด็นการปรับปรุงที่ได้จากการทดลองใช้ ทดลองใช้มาตรฐานซ้ำ บันทึกการปรับปรุงมาตรฐาน บันทึกการสอบทานมาตรฐานซ้ำ 8. ประกาศใช้มาตรฐาน จัดทำและขออนุมัติใช้มาตรฐานตามประเภทและลำดับขั้นของเอกสาร ดังนี้ ...... ระเบียบ กทม. เสนอผู้ว่าฯ พิจารณาอนุมัติ ข้อบัญญัติ กทม. เสนอผู้ว่า เพื่อนำเสนอสภา กทม. พิจารณาอนุมัติ ปรับปรุงทะเบียนมาตรฐาน / หลักเกณฑ์ / แนวทาง เอกสารประกาศใช้มาตรฐาน ทะเบียนมาตรฐาน/ หลักเกณฑ์/ แนวทาง B ทดลอง ใช้ ไม่ต้องปรับปรุง ต้องปรับปรุง ปรับปรุง ประกาศ ใช้ C

การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 9. สื่อสารมาตรฐาน / หลักเกณฑ์ / แนวทางไปยังกลุ่มเป้าหมายในรูปแบบต่างๆ ดำเนินการสื่อสารมาตรฐาน ตามคู่มือการปฏิบัติงานเรื่องการสื่อสารประชาสัมพันธ์ วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายและจัดทำสื่อและช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย ทดลอง และสอบทานความเข้าใจในสื่อ โดยกลุ่มเป้าหมาย ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการสื่อ สำนักอนามัย ผลการวิเคราะห์สื่อ ผลการประเมินสื่อ คู่มือการปฏิบัติงานเรื่องการสื่อสารประชาสัมพันธ์ 10.ให้บริการส่งเสริมสุขภาพ 11.ติดตามประเมินผลการใช้มาตรฐาน วางแผนและดำเนินการติดตามประเมินผลการใช้มาตรฐาน ในด้าน การนำมาตรฐานไปใช้ นำมาตรฐานไปใช้หรือไม่ นำมาตรฐานไปใช้ได้ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคในการใช้งานหรือไม่ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนำมาตรฐานไปใช้ โดยสอบทานเทียบกับวัตถุประสงค์ของการจัดทำมาตรฐาน ผลลัพธ์และสถานการณ์ด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ในการวางแผนการติดตาม ต้องมีการประเมินความเสี่ยงและจัดลำดับความสำคัญในการติดตาม ตามระดับปัญหาด้านการส่งเสริมสุขภาพ ..... (ใคร)ตรวจสอบผลการติดตามประเมินผลการใช้มาตรฐานในประเด็นต่างๆ ตามมาตรฐานงาน ตามระยะเวลาในแผน ผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง แผนและรูปแบบการติดตามประเมินผล รายงานการติดตามประเมินผล ข้อมูลสถานการณ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพ C สื่อสารมาตรฐาน ให้บริการ ติดตามประเมิน ผล D

การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 12.วิเคราะห์ผลการนำมาตรฐานไปใช้ วิเคราะห์ข้อมูลการติดตามประเมินผลเพื่อสรุปผลการส่งเสริมสุขภาพ ตามมุมมองต่างๆ ทั้งในเชิงพื้นที่ ตามกลุ่มวัย กลุ่มเป้าหมาย ประเภท/กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ ดังนี้ การนำมาตรฐานไปใช้ นำมาตรฐานไปใช้หรือไม่ นำมาตรฐานไปใช้ได้ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคในการใช้งานหรือไม่ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนำมาตรฐานไปใช้ โดยสอบทานเทียบกับวัตถุประสงค์ของการจัดทำมาตรฐาน ผลลัพธ์และสถานการณ์ด้านสุขภาพ แสดงทั้งข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน และคาดการณ์ พยากรณ์ หรือจำลองเหตุการณ์ในอนาคต วิเคราะห์หาปัญหาและข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการใช้มาตรฐาน การสื่อสาร การให้บริการ และการติดตามประเมินผล จัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงมาตรฐาน การสื่อสาร รวมทั้งกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพ และการติดตามประเมินผลที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ นำเสนอ/รายงานผลต่อผู้บริหารสำนัก รายงานการวิเคราะห์ลสรุปผลการส่งเสริมสุขภาพ D วิเคราะห์และสรุปผล End