สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
มันสำปะหลัง.
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ตัวชี้วัดกรมส่งเสริมการเกษตร เรื่อง การพัฒนาอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน(อกม
ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556 ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556.
หอมแดง.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
สถานการณ์ข้าวไทยเชียงใหม่ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี Lopburi provincial cooperative office สรุปภาพรวมผลการใช้ จ่ายเงิน งบประมาณปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2555.
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ระบบการส่งเสริมสหกรณ์ : CPS สหกรณ์การเกษตร - สกก. หนองแขมบางขุน เทียน จก. - สกก. บางขุนเทียน จก. - สกก. ภาษีเจริญ จก.
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ทัศนะเกี่ยวกับการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ประจำปี 2559
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แปลงใหญ่ต้นแบบ การส่งเสริมการเลี้ยงโคขุน สหกรณ์ นิคมลานสัก จำกัด จังหวัดอุทัยธานี จำหน่ายโคขุนปลายน้ำ ทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ผู้
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
เงินเฟ้อ Inflation.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
อยู่ระหว่างดำเนินการ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
โครงการอาหารเสริม(นม)โรงเรียน ปีการศึกษา 2560 จังหวัดสมุทรสงคราม
ติดตามผลการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
เสวนาหัวข้อ “Research Gap on Thailand Green Economy”
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 31 มีนาคม 2558

หัวข้อ สถานการณ์สุกรปี 2557 และแนวโน้ม ปี 2558 การจัดทำบัญชีสมดุลสินค้าสุกร การบริหารจัดการอุปทานและอุปสงค์สินค้าสุกร

สถานการณ์สุกรปี 2557 และแนวโน้ม ปี 2558

ปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกรของไทย รายการ 2553 2554 2555 2556 2557 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2558* ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 12.099 0.968 11.886 0.951 12.828 1.026 13.072 1.046 12.823 2.14 13.083 1.047 ปริมาณส่งออก2/ (ตัน) 9,724 12,027 14,416 15,957 17,227 15.33 18,000 ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 0.922 0.901 0.984 0.985 0.967 1.86 0.999 หมายเหตุ: * คาดคะเน ที่มา: 1/, 3/ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร

การส่งออกเนื้อสุกรชำแหละ เนื้อสุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต รายการ 2553 2554 2555 2556 2557 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) เนื้อสุกรชำแหละ ปริมาณ (ตัน) 1,500 2,577 2,070 3,840 2,635 16.48 มูลค่า : ล้านบาท 78.04 140.24 130.06 226.07 152.49 19.93 เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ (ตัน) 8,224 9,450 12,346 12,117 14,592 14.97 1,819.96 2,155.60 2,592.97 2,437.61 2,657.87 9.20 สุกรพันธุ์ ปริมาณ (ตัว) 46,497 83,044 35,782* 17,988 25,168 -24.10 129.30 318.58 67.98* 66.34 141.91 -12.92 สุกรมีชีวิตอื่น ๆ ปริมาณ (ตัว) 242,831 353,716** 533,593 243,261 388,846 5.84 1,036.04 1,579.76 2,018.79 925.68 1,765.06 5.75 ที่มา: กรมศุลกากร

การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร และส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่นๆ) รายการ 2553 2554 2555 2556 2557 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ปริมาณ (ตัน) 946 836 793 801 1,014 0.96 มูลค่า (ล้านบาท) 40.16 54.00 55.90 65.20 81.26 17.33 ส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร 10,142 21,463 14,140 12,548 26,956 15.24 111.77 289.48 161.76 161.90 574.59 30.91 ที่มา: กรมศุลกากร

ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก และราคานำเข้า รายการ 2553 2554 2555 2556 2557 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 59.99 65.50 56.65 65.35 76.76 5.03 ราคาส่งออก (บาท/กก.) เนื้อสุกรชำแหละ 52.03 54.42 62.83 58.87 57.88 2.96 เนื้อสุกรแปรรูป 221.30 228.11 210.02 201.17 182.14 -5.02 ราคานำเข้า (บาท/กก.) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม 11.02 13.49 11.44 12.90 21.32 13.60 ตับ 26.39 22.77 19.76 24.32 27.94 1.82 ที่มา: กรมศุลกากร

โครงสร้างตลาด ฟาร์มบริษัท > 70 % ผู้บริโภคใน ประเทศ ฟาร์มการค้า ผู้เลี้ยงรายย่อย < 5% ฟาร์มการค้า 20-25% พ่อค้ารวบรวม สุกรมีชีวิต โรงงานแปรรูป พ่อค้าส่ง สุกรชำแหละ พ่อค้าปลีก ส่งออก พ่อค้าขายปลีก ผลิตภัณฑ์ ต่างประเทศ พ่อค้าขายส่ง * ฟาร์มการค้า หมายถึง ฟาร์มขนาดเล็กและขนาดกลาง ** ฟาร์มบริษัท หมายถึง ฟาร์มขนาดใหญ่ครบวงจรหรือเกือบครบวงจร รวม Contract farms

การจัดทำบัญชีสมดุลสินค้าสุกร Supply Demand ผลิต  นำเข้า = บริโภค  ส่งออก

ส่วนประกอบของสุกรและสัดส่วนของซาก ซากทั้งหมด 90% ซาก (รวมหัว) 80.00% เครื่องใน 10 % สุกรมีชีวิต 100% สูญเสีย 10%

เปอร์เซ็นต์ซากของสุกรมีชีวิต สุกรมีชีวิตขนาดกลาง น้ำหนัก 100 กิโลกรัม คิดเป็น ซาก* 80 % 80 กิโลกรัม *ซาก รวมหัว ถ้าไม่รวม 75%

ตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณ Balance sheet Demand ปริมาณการบริโภค ปริมาณการส่งออก (สุกรมีชีวิตและเนื้อสุกร ส่วนอื่น ๆ และผลิตภัณฑ์) Supply จำนวนสุกร ณ 1มกราคม 2557 และ ปี 2558 ปริมาณการผลิตระหว่างปี ปริมาณการนำเข้า (สุกรมีชีวิตและเนื้อสุกร ส่วนอื่น ๆ และผลิตภัณฑ์)

การคำนวณ Balance sheet การวิเคราะห์และคำนวณบัญชีสมดุล การคำนวณ Balance sheet จำนวนสุกรต้นปี + ปริมาณการผลิต +นำเข้า = บริโภค + ส่งออก + จำนวนสุกรปลายปี สุกรต้นปี = ณ 1 ม.ค. สุกรปลายปี = ณ 1 ม.ค. ของปีถัดไป

วิธีการหาปริมาณการบริโภค บริโภค = จำนวนสุกร ณ 1 มกราคม + ผลิต + นำเข้า - ส่งออก– จำนวนสุกร ณ 1 มกราคม ของปีถัดไป

สุกร : จำนวน ณ วันที่ 1 มค.ปริมาณการผลิต ปริมาณการนำเข้า ส่งออก ปริมาณการใช้ภายในประเทศ รายการ หน่วย 2557 2558 1. จำนวน ณ วันที่ 1 มกราคม ตัว 7,591,530 8,015,966 2. ปริมาณการผลิต ระหว่างปี 12,822,990 13,085,440 3. การนำเข้าสุกร เนื้อและผลิตภัณฑ์ 1/   3.1 จำนวนสุกรมีชีวิต 440 3.2 ปริมาณเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ ก.ก. 1,490,975 18,637 4. การส่งออกสุกร เนื้อและผลิตภัณฑ์ 1/ 4.1 จำนวนสุกรมีชีวิต 414,014 4.2 ปริมาณเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ 17,227,157 215,339 5. จำนวนรวมทั้งหมด ระหว่างปี (ข้อ 1+2+3.1-4.1) 20,000,946 6. จำนวนที่ถูกฆ่าระหว่างปี (ข้อ5 - ข้อ1 ปีถัดไป) 11,984,980 7. ปริมาณการใช้ภายในประเทศ (ข้อ6+3.2-4.2) 11,788,278 8. จำนวนประชากรไทยทั้งหมด 3/ ล้านคน 65,124,716 9. อัตราการบริโภค (ข้อ8 / ข้อ9) ก.ก./คน/ปี 14.48 10. ราคาที่เกษตรกรขายได้ที่ ณ ไร่นา (บาท/กก.) 76.76

บัญชีสมดุลสุกรของไทย Balance sheet swine Of Thailand หน่วย : ล้านตัว ปี จำนวนสุกรต้นปี1/ ปริมาณการผลิต2/ รวมสุกรทั้งปี ปริมาณส่งออก3/ ปริมาณ นำเข้า4/ การบริโภค5/ 2557 7.591 12.822 20.415 0.629 0.019 11.788 2558 8.015 13.085 21.101 ที่มา : 1/ และ2/ ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3/ และ 4/ กรมศุลกากร 5/ สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

แบบฟอร์มข้อมูลการจัดทำบัญชีสมดุลสุกร รายเดือน ปี 2558 จังหวัด................................ รายการ ปี 2558 (ตัว) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 1. ปริมาณการผลิตสุกร (เดือน) 2. นำเข้าจากจังหวัดอื่น/ตปท. 3. ส่งออกไปจังหวัดอื่น/ตปท. 4. ความต้องการบริโภคในจังหวัด 5. เกิน/ขาด (ตัว) 1.ปริมาณการผลิตสุกร 2.นำเข้าจากจังหวัดอื่น สอบถามจากสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด 3.ส่งออกไปจังหวัดอื่น 4.ความต้องการบริโภคในจังหวัด สอบถามจากสำนักงานพาณิชย์จังหวัด

การบริหารจัดการอุปทานและอุปสงค์สินค้าสุกร กรณีผลผลิตเกิน ระบายผลผลิตเข้าโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่า , ส่งออก เพิ่มความต้องการบริโภค โดยการจัดงานธงฟ้า และเพิ่มจุดจำหน่ายเนื้อสุกร กรณีผลผลิตขาด เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการฟาร์มสุกร/ป้องกันโรค เพื่อลดเปอร์เซนต์ สูญเสีย หาผลผลิตจากจังหวัดใกล้เคียงเพื่อมาทดแทนผลผลิตในส่วนที่ขาด

ขอบคุณค่ะ www.oae.go.th โทร 02-5793536 (ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์