งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
จังหวัดเพชรบุรี โครงการชลประทานเพชรบุรี สำนักงานชลประทานที่ 14 กรมชลประทาน

2 มีพื้นที่ทั้งหมด 6,225 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,890,711 ไร่ เป็นพื้นที่การเกษตร 935,293 ไร่ คิดเป็น 24 % ของพื้นที่ทั้งจังหวัด อยู่ในเขตชลประทาน 653,492 ไร่ คิดเป็น 70 %ของพื้นที่ทำการเกษตร - อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการชลประทานเพชรบุรี จำนวน 145,917 ไร่ รับน้ำจาก อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 11 แห่ง อ่างเก็บน้ำขนาดเล็กพระราชดำริ 23 แห่ง อ่างเก็บน้ำขนาดเล็กถ่ายโอน แห่ง และสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 12 แห่ง - อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี จำนวน 421,075 ไร่ รับน้ำจากอ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์และอ่างเก็บน้ำห้วยผาก - อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งขวา จำนวน 86,500 ไร่ รับน้ำจากเขื่อนแม่กลอง ดังนั้นจึงยังมีพื้นที่การเกษตรอีก 281,801 ไร่ ที่อยู่นอกเขตชลประทาน ซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาแหล่งน้ำในเขตพื้นที่ดังกล่าว เพื่อเป็นแหล่งน้ำต้นทุนในการเกษตรต่อไป

3 แผนที่ที่ตั้งโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและโครงการชลประทานปัจจุบัน

4 แผนที่แสดงอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ กลาง และเล็กพระราชดำริ

5

6 พื้นที่ชลประทานในจังหวัดเพชรบุรี พื้นที่ชลประทาน (ไร่)
ลำดับที่ โครงการ พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 1 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี - อ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน 390,120 - อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์ 25,780 - อ่างเก็บน้ำห้วยผาก 5,173 รวม 421,075 2 โครงการชลประทานเพชรบุรี - อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 11 แห่ง 38,420 - อ่างเก็บน้ำขนาดเล็กพระราชดำริ 23 แห่ง 28,132 - อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก (ถ่ายโอน) 65 แห่ง 56,605 - สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 12 แห่ง 22,760 145,917 3 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งขวา - คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวา 86,500 รวมทั้งสิ้น 653,492

7 แหล่งน้ำชลประทาน ในเขตจังหวัดเพชรบุรี จนถึงปี 2560
แหล่งน้ำชลประทาน ในเขตจังหวัดเพชรบุรี จนถึงปี 2560 1. อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ แห่ง 2. อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ แห่ง 3. อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก อันเนื่องมาจากพระราชดำริ แห่ง 4. อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ( ถ่ายโอน ) แห่ง 5. สระเก็บน้ำ แห่ง 6. แหล่งน้ำในไร่นา แห่ง 7. สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า แห่ง

8 การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี
โครงการชลประทานเพชรบุรี จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง จำนวน 11 แห่ง ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯในการจัดสรรน้ำดังนี้ ฤดูแล้ง เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม พื้นที่ 8,690 ไร่ - จัดสรรน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. - จัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร งดนาปรัง ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. ฤดูฝน เริ่มเดือนกรกฎาคม - พฤศจิกายน พื้นที่ 23,231 ไร่ - จัดสรรน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. - จัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม.

9 การบริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดกลางและขนาดเล็ก
ในการกำหนดพื้นที่ส่งน้ำของโครงการชลประทานเพชรบุรี ให้ความสำคัญกับการอุปโภค-บริโภค เป็นอันดับแรก การรักษาระบบนิเวศน์,การเกษตร ,การอุตสาหกรรม ตามลำดับ

10 แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2559/2560
ตารางที่ 2 แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2559/2560 อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง โครงการชลประทานเพชรบุรี ลำดับ ชื่อโครงการ จังหวัด อำเภอ แหล่งน้ำต้นทุน ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่เป้าหมาย (ไร่) ความต้องการใช้น้ำรายเดือนของทุกกิจกรรม (ล้าน ลบ.ม.) ระยะเวลาการส่งน้ำ ที่ ใช้งานได้ เกษตร อุปโภค- อื่นๆ รวม ข้าวนาปรัง พืชไร่ พืชผัก อ้อย ไม้ผล ไม้ยืนต้น บ่อปลา บ่อกุ้ง ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. เริ่ม สิ้นสุด 1 พ.ย...... บริโภค 1 อ่างฯทุ่งขาม เพชรบุรี ชะอำ อ่างเก็บน้ำ 8.1460 3.4696 0.0072 3.4768 5,000 500 0.84 1.76 0.73 0.14 3.48 1-ก.พ. 31-พ.ค. 2 อ่างฯห้วยตะแปด 0.6424 0.5908 0.0024 0.5932 0.12 0.17 0.13 0.59 3 อ่างฯห้วยทราย 0.0450 0.0591 0.0615 50 0.01 0.02 0.06 4 อ่างฯพุหวาย 0.4566 0.1382 0.1406 100 0.03 0.04 5 อ่างฯหุบกะพง 0.4180 0.1182 0.1206 6 อ่างฯโป่งทะลุ 0.2469 7 อ่างฯวังยาว ท่ายาง 0.2466 8 อ่างฯห้วยสามเขา 2.2600 0.7605 0.7629 400 0.29 0.19 0.11 0.76 9 อ่างฯกระหร่าง 3 แก่งกระจาน 0.3100 0.1300 0.1324 110 10 อ่างฯห้วยสงสัย 4.0925 1.2847 0.0144 1.2991 800 30 0.52 0.32 1.30 11 อ่างฯพุน้อย เขาย้อย 0.1821 0.0354 0.0000 600 6.7047 0.0408 6.7455 6,200 2,490 1.55 2.91 1.59 0.69 6.75 8,690

11 อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง โครงการชลประทานเพชรบุรี พื้นที่คาดการณ์ (ไร่)
แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูฝน ปี 2560 อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง โครงการชลประทานเพชรบุรี ลำดับที โครงการ/อ่างเก็บน้ำ จังหวัด ปริมาณน้ำ (ล้าน ม.3) พื้นที่คาดการณ์ (ไร่) ระยะเวลาการปลูกพืช พื้นที่ ชป. (ไร่) เกษตร อุปโภค- อุตสาห- ระบบ อื่นๆ รวม ข้าวนาปี พืชไร่ พืชผัก อ้อย ไม้ผล ไม้ยืนต้น บ่อปลา บ่อกุ้ง เริ่ม สิ้นสุด บริโภค กรรม นิเวศน์ 1 อ่างฯทุ่งขาม เพชรบุรี 6,800 7.6202 0.0090 7.6292 600 2,800 100 1,768 35 1,320 177 1-ก.ค. 30-พ.ย. 2 อ่างฯห้วยตะแปด 4,564 2.5267 0.0030 2.5297 10 300 823 1,359 61 3 อ่างฯห้วยทราย 3,150 1.0016 1.0046 400 98 4 อ่างฯพุหวาย 1,020 0.8188 0.0031 0.8219 750 5 อ่างฯหุบกะพง 3,000 1.0156 1.0187 200 6 อ่างฯโป่งทะลุ 2,210 2.4504 2.4535 1,910 7 อ่างฯวังยาว 1,105 0.4290 0.4321 8 อ่างฯห้วยสามเขา 3,145 3.3707 3.3737 2,500 350 250 9 อ่างฯกระหร่างสาม 4,000 1.1157 1.1187 900 110 อ่างฯห้วยสงสัย 4,050 4.3912 0.0184 4.4095 30 330 285 555 11 อ่างฯพุน้อย 213 0.1805 0.0000 33,257 0.0517 640 11,710 1,200 2,098 3,703 3,534 346 23,231

12 การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์ และอ่างเก็บน้ำ ห้วยผาก ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ ในการจัดสรรน้ำ ดังนี้ ฤดูแล้ง เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม พื้นที่ 14,774 ไร่ - เพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. - เพื่อการเกษตร ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. - เพื่ออุตสาหกรรม ปริมาณน้ำ 6.52 ล้านลบ.ม เพื่อรักษาระบบนิเวศ ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม.

13 การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนแก่งกระจาน
การบริหารจัดการน้ำในฤดูแล้ง (เดือนมกราคม – พฤษภาคม) หากสิ้นฤดูฝน มีปริมาณน้ำในเขื่อนแก่งกระจานมากกว่า 360 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะส่งน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค, รักษาระบบนิเวศน์, ผลักดันน้ำเค็ม, การเกษตร และอุตสาหกรรม ได้ครบทุกกิจกรรม โดยส่งน้ำให้พื้นที่การเกษตรเป็นข้าวนาปรังได้ประมาณ 50,000 – 200,000 ไร่ ไม้ผล, ไม้ยืนต้น, พืชไร่, พืชผัก ได้อีกประมาณ 30,000 ไร่ หากปริมาณน้ำอยู่ระหว่าง 260 – 360 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะงดการส่งน้ำให้พื้นที่ข้าวนาปรัง แต่จะส่งน้ำให้ไม้ผล, ไม้ยืนต้น, พืชไร่, พืชผัก ได้บางส่วน และหากปริมาณน้ำน้อยกว่า 260 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะงดส่งน้ำข้าวนาปรัง, พืชไร่, พืชผัก คงเหลือการส่งน้ำเพื่อกิจกรรมอื่นๆ เท่าที่จำเป็น

14 แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกฤดูแล้ง ปี 2559/2560
อ่างเก็บน้ำ ปริมาณน้ำใช้งานได้ 1 ม.ค. 60 ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่เป้าหมาย (ไร่) ระยะเวลาการส่งน้ำ เกษตร อุปโภค อุตสาหกรรม อื่นๆ (นิเวศน์) รวม ข้าวนาปรัง พืชไร่ พืชผัก ไม้ผล เริ่ม สิ้นสุด บริโภค เขื่อนแก่งกระจาน 350.0 25.9 123.9 6.5 65.2 221.5 - 4,218 5,556 5,000 1 ม.ค. 60 31 พ.ค. 60 อ่างฯ ห้วยแม่ประจันต์ 38.0  - 11.9 18.4 อ่างฯ ห้วยผาก 25.0 3.3 6.6 413.0 133.7 80.4 246.5 14,774 

15

16 วันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 2560 โครงการฯ วางแผนส่งน้ำเพื่ออุปโภคบริโภค, รักษาระบบนิเวศน์, ผลักดันน้ำเค็ม, การเกษตร และอุตสาหกรรม เขื่อนแก่งกระจาน : เปิดระบายน้ำลงแม่น้ำเพชรบุรี 10.0 – 15.0 ลบ.ม./วินาที เขื่อนเพชร : เปิดระบายน้ำลงแม่น้ำเพชรบุรี ลบ.ม./วินาที เพื่ออุปโภคบริโภค รักษาระบบนิเวศน์ ในแม่น้ำเพชรบุรี เปิดน้ำเจ้าคลองส่งน้ำสายใหญ่ 1, 2, 3 และสายใหญ่ฝั่งซ้าย แบบรอบเวร หมุนเวียน คลองละ 7 วัน (เปิด 7 วัน – ปิด 21 วัน) ด้วยอัตรา 1.5 – 5 ลบ.ม./วินาที เพื่ออุปโภคบริโภค และการเกษตร (พืชไร่น้ำน้อย) การประปา 51 แห่ง สระน้ำหมู่บ้าน, วัด, ชาวบ้าน 51 แห่ง

17 การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์ และอ่างเก็บน้ำ ห้วยผาก ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ ในการจัดสรรน้ำ ดังนี้ ฤดูฝน เริ่มเดือนกรกฎาคม - พฤศจิกายน พื้นที่ 346,200 ไร่ เพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. - เพื่อการเกษตร ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. เพื่ออุตสาหกรรม ปริมาณน้ำ 3.68 ล้านลบ.ม เพื่อรักษาระบบนิเวศ ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม. เพื่อกิจกรรมอื่นๆ ปริมาณน้ำ ล้านลบ.ม.

18 การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – ธันวาคม)
การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – ธันวาคม) หากสิ้นฤดูแล้ง มีปริมาณน้ำในเขื่อนแก่งกระจาน มากกว่า 300 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะเริ่มส่งน้ำเพาะปลูกพืชในฤดูฝน ประมาณวันที่ 1 กรกฎาคม หากปริมาณน้ำอยู่ระหว่าง 250 – 300 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะเริ่มส่งน้ำเพาะปลูกพืชในฤดูฝน ประมาณวันที่ 31 กรกฎาคม และหากปริมาณน้ำน้อยกว่า 250 ล้าน ลูกบาศก์ โดยจะส่งน้ำให้พื้นที่การเกษตรเป็น ข้าวนาปี 265,700 ไร่ พืชไร่ 1,100 ไร่ พืชผัก 1,900 ไร่ ไม้ผล 66,000 ไร่ ไม้ยืนต้น 3,200 ไร่ บ่อปลา 4,000 ไร่ บ่อกุ้ง 5,000 ไร่ รวมพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น 346,200 ไร่

19 แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูฝนปี 2560
อ่างเก็บน้ำ จังหวัด พื้นที่ ชป. (ไร่) พื้นที่เป้าหมาย (ไร่) ระยะเวลาการส่งน้ำ ข้าวนาปี พืชไร่ พืชผัก อ้อย ไม้ผล ไม้ยืนต้น บ่อปลา บ่อกุ้ง อื่นๆ เริ่ม สิ้นสุด เขื่อนแก่งกระจาน เพชรบุรี 390,120 265,000 1,100 1,900 - 66,000 3,200 4,000 5,000 31 ก.ค. 60 19 ธ.ค. 60 อ่างฯ ห้วยแม่ประจันต์ อ่างฯ ห้วยผาก รวม 346,200

20 การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งขวา จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำโดยรับน้ำจากคลองส่งน้ำ 1 ขวาแม่กลองใหญ่ กม ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ ในการจัดสรรน้ำดังนี้  เพื่อการอุปโภค- บริโภค ส่งน้ำเป็นรอบเวร 3 สัปดาห์ต่อครั้ง  เพื่อการเกษตร พื้นที่ 86,500 ไร่ ส่วนใหญ่ในพื้นที่อำเภอเขาย้อย และอำเภอบ้านลาด อำเภอเมือง - ฤดูแล้งเริ่มเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ปริมาณน้ำ ล้าน ลบ.ม ฤดูฝนเริ่มเดือนกรกฎาคม – พฤศจิกายน ปริมาณน้ำ ล้าน ลบ.ม.

21  เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูแล้งปี พ. ศ
 เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูแล้งปี พ.ศ. 2559/60 ได้ตามแผนที่วางไว้จึงกำหนดมาตรการควบคุมการบริหารจัดการน้ำพร้อมทั้งขอความ ร่วมมือปฏิบัติตามคำแนะนำของทางราชการ ดังนี้ 1. ส่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค รักษาระบบนิเวศ และการปลูกพืชใช้น้ำน้อย เช่น สวนผลไม้ พืชไร่ พืชผัก ไม่สนับสนุนการทำนาปรัง 2. จัดเตรียมรถบรรทุกน้ำและเครื่องสูบน้ำ พร้อมให้การช่วยเหลือการเกษตรกรณีฉุกเฉิน และจำเป็นตามที่เห็นสมควร 3.ทำข้อตกลงกับองค์กรส่วนท้องถิ่น ให้มีมาตรการ ลดการใช้น้ำ และช่วยกันใช้น้ำอย่างประหยัด

22 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google