FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่าของทุน The Cost of Capital
Advertisements

สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows



การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
เงินสดเป็นทรัพย์สินหมุนเวียนสำคัญที่ต้องการระบบควบคุมที่แน่นหนาและรัดกุม
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การเงิน.
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
โดย... นางจันทร์เพ็ญ หงษ์อินทร์
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
การจัดทำแผนธุรกิจ.
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
สมชาย วิวัฒนวัฒนา.
1.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การรวมธุรกิจ.
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
Creative Accounting
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)

Financial planning การวางแผนทางการเงิน คือ ‘Road Map’ ในการนำทางและควบคุมการทำงานของกิจการให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางการเงินที่ตั้งไว้ กระบวนการวางแผนทางการเงินเริ่มต้นจาก แผนระยะยาว (Long-term/ Strategic planning) แผนระยะสั้น (Short-term/ Operating planning) ‘สงสัยไหมว่าแผนระยะยาว ต่างกับ แผนระยะสั้น ตรงไหน !!!’

Financial planning process แผนระยะสั้น (Short-term/ Operating planning)

Cash planning: cash budgets Cash budget/ Cash forecast งบประมาณเงินสดเป็นงบที่แสดงถึง การคาดคะเน กระแสเงินสดรับและเงินสดจ่ายของกิจการ งบประมาณเงินสดสามารถนำมาช่วยในการตัดสินใจ โดยหาก กระแสเงินสดเกิน (Cash surplus) ลงทุน (Invest) กระแสเงินสดขาด (Cash deficit) หาเงิน (Finance) โดยปกติการจัดทำงบประมาณเงินสดจะจัดทำ ทุกเดือน ตลอดปี

Cash planning: cash budgets Cash budget/ Cash forecast

Sales forecast การจัดทำงบประมาณเงินสดเริ่มต้นด้วย การพยากรณ์ยอดขาย การพยากรณ์ยอดขาย: ปัจจัยภายนอก GDP, ความมั่นใจผู้บริโภค, รายได้ … ปัจจัยภายใน ข้อมูลจากช่องทางการขายของบริษัทเอง ความคิดเห็นพนักงานขาย, กำลังการผลิต จัดทำงบประมาณการขาย (จำนวนหน่วย, จำนวนเงินที่ได้รับจากการขายของกิจการเป็นเงินเชื่อ) ตารางประมาณการเงินสดรับจากการขาย

Cash receipts ส่วนเงินสดรับ เป็นส่วนของการรวบรวม เงินสดรับจากการขาย, เงินสดรับจากการเก็บหนี้, และเงินสดรับอื่นๆ พิจารณาข้อมูลของบริษัท ABC จำกัด 20% ของยอดขายในแต่ละเดือน จะเก็บเงินสดได้ในเดือนนั้น 50% ของยอดขายในแต่ละเดือน จะเก็บเงินได้ในเดือนถัดไป 30% ของยอดขายในแต่ละเดือน จะเก็บเงินได้ใน 2 เดือนถัดไป สมมุติว่าสามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้ทั้งหมด ในเดือนธันวาคมจะได้รับเงินปันผลจากบริษัทลูก $300,000 Forecast sales Aug Sep Oct Nov Dec ($000) 100 200 400 300

Cash receipts รายรับรวมของบริษัท ABC จำกัด

‘แล้ว depreciation and non-cash charges นำไปไว้ในรายการนี้หรือไม่ ???’ Cash disbursement ส่วนเงินสดจ่าย เป็นส่วนของการรวบรวม เงินสดจ่าย ของกิจการ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ได้แก่ ‘แล้ว depreciation and non-cash charges นำไปไว้ในรายการนี้หรือไม่ ???’ การซื้อด้วยเงินสด ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้การค้า จ่ายดอกเบี้ย จ่ายค่าเช่า จ่ายเงินปันผล ค่าแรงและเงินเดือน ชำระคืนเงินต้น ภาษีจ่าย ซื้อหุ้นสามัญคืน

Cash disbursement พิจารณาข้อมูลของบริษัท ABC จำกัด ซื้อสินค้าด้วยเงินสด โดยซื้อจำนวน 70% ของยอดขาย โดย 10%ของยอดซื้อต้องจ่ายทันที ในขณะที่70% ของยอดซื้อชำระในเดือนถัดไป และ 20% ที่เหลือชำระในอีก 2 เดือนถัดไป ค่าเช่าเดือนละ $5,000 เงินเดือน (Salary) เดือนละ $8,000 ค่าแรง (Wage) คิดเป็น 10% ของยอดขาย แต่ละเดือน ค่าภาษี จ่ายในเดือน ธันวาคม $25,000 ค่าลงทุนในสินทรัพย์ถาวรในเดือน พฤศจิกายน $130,000 ค่าดอกเบี้ยจ่ายในเดือน ธันวาคม $10,000 จ่ายเงินปันผลเดือน ตุลาคม $20,000

Cash disbursement รายจ่ายรวมของบริษัท ABC จำกัด

Net cash flow, ending cash, financing and excess cash เงินสดสุทธิ (Net cash flow) คือ ผลต่างระหว่างเงินสดรับ (Cash receipts) และเงินสดจ่าย (Cash disbursement)

Net cash flow, ending cash, financing and excess cash เงินสดคงเหลือปลายงวด (Ending cash) คือ ผลรวมของเงินสดสุทธิ (Net cash flow) และเงินสดคงเหลือต้นงวด (Beginning cash)

Net cash flow, ending cash, financing and excess cash เงินสดเกิน (Excess cash) หรือ เงินสดขาด (Required total finance) หากเงินสดคงเหลือปลายงวดมากกว่า นโยบายเงินสดขั้นต่ำ Excess cash หากเงินสดคงเหลือปลายงวดน้อยกว่านโยบายเงินสดขั้นต่ำ Required total finance

Net cash flow, ending cash, financing and excess cash

Financial planning Q & A