ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements


สมดุลเคมี.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การจำลองดีเอ็นเอเกิดขึ้นในลักษณะใด
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
(quantitative genetics)
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ระบบกลไก.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
วิธีการทางวิทยาการระบาด
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ระบบการผลิต ( Production System )
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
System Development Lift Cycle
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
ความหลากหลายทางชีวภาพ
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
Symbol & Instance.
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
ต้นทุนการผลิต.
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
Change Management.
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน โดย อ.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

จากกฎของ Hardy-Weinberg “ในประชากรที่มีขนาดใหญ่และมีการผสมพันธุ์แบบสุ่ม (random mating) โดยไม่มีปัจจัยเนื่องจากการอพยพ (migration) การกลายยีน (mutation) การคัดเลือก (selection) หรือปัจจัยอื่นที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนแล้วจะส่งผลให้ความถี่ยีน คงที่ในทุกๆชั่วรุ่น” แต่ธรรมชาติทั่วไป จะมีปัจจัยที่มากระทบให้ความถี่ยีนมีการเปลี่ยน แปลงได้ตลอดเวลา เรียกว่า gene force

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน ประกอบด้วย Non-random mating Migration Mutation Selection Genetic drift

การผสมพันธุ์อย่างไม่สุ่ม (non-random mating) การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นไปอย่างสุ่ม หมายถึงการผสมพันธุ์ที่สัตว์แต่ละตัว มีโอกาสที่จะได้รับการผสมพันธุ์อย่างไม่เท่าเทียมกัน ซึ่งอาจเกิดเนื่องจาก การมีคนเข้าไปจัดการหรือจากพฤติกรรมของสัตว์เอง การผสมพันธุ์อย่างไม่สุ่ม (non-random mating) Negative assortive mating Positive assortive mating

การอพยพ (migration) หมายถึง การเคลื่อนย้ายสัตว์จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งเป็นปัจจัยที่พบได้ เสมอในการเลี้ยงสัตว์ และยังเป็นปัจจัยที่กระทบต่อความถี่ยีนโดยตรง

สาเหตุที่ทำให้ต้องมีการอพยพสัตว์ นำพันธุกรรมที่ดีเข้ามา เพิ่ม/ยกระดับ พันธุกรรมเดิมให้ดีขึ้น จำนวนสัตว์ เพศผู้/เพศเมีย ไม่สมดุล ความถี่ยีนของสัตว์แตกต่างกันมากจนไม่สามารถเข้าสู่ภาวะสมดุลได้ เหตุผลทางเศรษฐกิจ เช่น ผลผลิตตกต่ำ เหตุผลด้านการปรับปรุงพันธุ์ เช่น สร้างสัตว์สายพันธุ์ใหม่ที่ต้องการ (น้ำเชื้อพ่อพันธุ์โคนม, สัตว์ป่าจากต่างพื้นที่)

การอพยพ (migration) ประชากรต่างแหล่ง ประชากรเดิม ขั้นตอนที่  ฝูงอพยพ f(a) = q1 N = n1 f(a)= q0 N = n0 ประชากรต่างแหล่ง ประชากรเดิม N = nm ฝูงอพยพ การอพยพ (migration) ขั้นตอนที่  q’0 = q0 + m(q1-q0) เมื่อ q’0 = ความถี่ยีนของประชากรหลังจากมีสัตว์อพยพเข้ามาแล้ว q0 = ความถี่ยีนของประชากรเดิม q1 = ความถี่ยีนของประชากรจากต่างแหล่ง m = อัตราการอพยพ = n0 = จำนวนสัตว์ในประชากรเดิม nm = จำนวนสัตว์ที่มีการอพยพเข้ามา ขั้นตอนที่  จากนั้นต้องหาความแตกต่างของความถี่ยีนระหว่างก่อนและหลัง การอพยพ q = q’0 - q0

q’0 = q0 + m(q1-q0) = = 0.2 + 0.08 = 0.28 q = q’0 - q0 = 0.28 - 0.2 Ex. กำหนดให้ฝูงโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ของประเทศไทยเดิมมีจำนวน 8,000 ตัวและมีความถี่ยีนของลักษณะการให้ผลผลิตน้ำนม (q0) เท่ากับ 0.2 ในขณะที่โคนมพันธุ์โฮลสไตน์จากประเทศสหรัฐอเมริกามีความถี่ยีน (q1) เท่ากับ 0.6 หากมีการนำโคนมจากสหรัฐอเมริกาเข้ามาจำนวน 2,000 ตัว จงคำนวณความถี่ของยีนของฝูงสุกรหลังจากที่มีการนำสัตว์เข้ามาแล้ว q’0 = q0 + m(q1-q0) = = 0.2 + 0.08 = 0.28 q = q’0 - q0 = 0.28 - 0.2 = 0.08

การกลายยีน (mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงระดับโมเลกุลของพันธกรรมสัตว์ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ลำดับเบสของ DNA (A, T, C และ G) โอกาสในการเกิดน้อยมาก 10-4 – 10-5 เมื่อเกิดขึ้นในส่วนใดของยีนจะมีผลให้ความถี่ยีนเปลี่ยนแปลง

การกลายยีน (mutation)

การกลายยีน (mutation) การกลายยีนมี 2 แบบ 1. การกลายยีนแบบไม่ย้อนกลับ (non-recurrent mutation) โอกาสเกิดน้อย เกิดแล้วมักทำให้สัตว์ตาย จึงไม่มีโอกาส ขยายพันธุ์ 2. การกลายยีนแบบย้อนกลับ (recurrent mutation) พบมากกว่า

การกลายยีน (mutation) การกลายยีนแบบไม่ย้อนกลับ (non-recurrent mutation) เป็นการกลายยีนในลักษณะที่ไปในทางใดทางหนึ่งแบบไม่ย้อนกลับ (one- way mutation) ดังนั้นเมื่อจุดสมดุลจะอยู่ที่ความถี่ยีนด้านใดด้านหนึ่งมีค่าเป็น 0 และความถี่ยีนอีกด้านหนึ่งมีค่าเป็น 1 ยีน : R r ความถี่ : p q 1 U 0 ความถี่ยีนจะเข้าสู่สมดุลเมื่อ “ความถี่ของยีนด้านใดด้านหนึ่งมีค่าเท่ากับ 0 และความถี่ของยีนอีกด้านหนึ่งมีค่าเท่ากับ 1”

การกลายยีน (mutation) การกลายยีนแบบย้อนกลับ (recurrent mutation) เป็นการกลายยีนในลักษณะที่มีการย้อนกลับได้ (two-way mutation) ดังนั้นเมื่อจุดสมดุลจะขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการกลายยีนไปข้างหน้าและอัตราการกลายยีนย้อนกลับ ยีน : B b ความถี่ : p q U V

การกลายยีน (mutation) ความถี่ยีนที่ภาวะสมดุล หากทราบอัตราการกลายยีนไปข้างหน้าและย้อนกลับ สามารถคำนวณความถี่ยีนที่ภาวะสมดุลได้ดังนี้ vqE = upE vqE = u(1-qE) vqE = u - uqE vqE + uqE = u (v+u)qE = u  qE =

การกลายยีน (mutation) Ex. ถ้าเดิมประชากรมีความถี่ q0 = 0.2 เมื่อเกิดกลายยีนโดยมีอัตราไปข้างหน้า (B->b) หรือ u เท่ากับ 4.2 x 10-5 และมีอัตราการกลายยีนย้อนกลับ (b->B) หรือ v เท่ากับ 2.1 x 10-5 จงคำนวณความถี่ของยีนในชั่วที่ 1 และเมื่อถึงสมดุล q1 = q0 + up0 – vq0 = 0.2 + (4.2x10-5)(0.8) - (2.1x10-5)(0.2) = 0.2+ (0.294x10-4) qE = = = 0.6667