งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่ 250 ตัว, สีโรน 450 ตัว และสีขาว 200 ตัว การผสมพันธุ์ Rr จะต้องได้ลูกสีแดง : สีโรน : สีขาว ในอัตราเท่ากับ 1:2:1 ในประชากรนี้ยีน R ข่ม r แบบใด ตั้งสมมุติฐาน Ho : อัตราส่วนของ ลูกสีแดง : สีโรน : สีขาว = 1:2:1 HA : อัตราส่วนของ ลูกสีแดง : สีโรน : สีขาว  1:2:1

2 การทดสอบไค-สแควร์ (2-test) 2value =
เมื่อ O = จำนวนที่ได้จากการสังเกต (observed number) E = จำนวนที่คาดว่าควรจะเป็นตามทฤษฎี (expected number) ถ้า 2value ที่คำนวณได้ < 2 (df) จากตาราง จึงยอมรับสมมุติฐานว่าอัตราส่วนเป็นไปตามทฤษฎี

3 ค่าที่ได้จากการสังเกต
Phenotype อัตราส่วน ที่ทดสอบ ค่าที่ได้จากการสังเกต ค่าคาดหมายตามทฤษฎี แดง โรน ขาว 1 2 250 450 200 225 รวม 4 900 ค่าคาดหมายตามทฤษฎีคำนวณได้จาก: 1. นับจำนวนอัตราส่วนที่ทดสอบรวมแล้วนำไปหารจำนวนสัตว์ที่ทดสอบรวม เพื่อคำนวณจำนวนสัตว์ต่อหนึ่งอัตราส่วน จำนวนอัตราส่วนทดสอบรวม = 3+1 = 4 จำนวนสัตว์ต่อหนึ่งอัตราส่วน = 900/4 = 225 2. คูณกลับเข้ากับจำนวนอัตราส่วนที่ทดสอบเพื่อเป็นค่าคาดหมายตามทฤษฎี ค่าคาดหมายของการเกิดลูกสีแดงและขาว = 1x225 = 225 ค่าคาดหมายของการเกิดลูกสีโรน = 2x225 = 450

4 2value = = เมื่อเปิด 2(2) จากตารางที่นัยสำคัญ 0.05 ที่ df 2 พบว่ามีค่า 5.99 เนื่องจาก 2value < 2 (2) ดังนั้นจึง ยอมรับ Ho (null hypothesis) สรุปว่า การควบคุมลักษณะการมีสีของโคเป็นแบบข่มไม่สมบูรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

5 การตรวจสอบสมดุลของความถี่ยีนในประชากรโคเนื้อ
Phenotype O f(genotype) E O-E (O-E)2 (O-E)2/E แดง 250 0.278 250.2 -0.2 0.04 โรน 450 0.5 ขาว 200 0.222 199.8 0.2 0.0002 รวม 900 1 0.0004 ค่า Expected คำนวณได้จาก p2(N), 2pq(N), และ q2(N) สำหรับยีโนไทป์ RR, Rr และ rr ดังนั้น ค่าคาดหวังว่าจะพบตามกฎ H-W คำนวณได้ดังนี้ สีแดง = p2(N) = (0.278)(900) = 250.2 สีโรน = 2pq(N) = (0.5)(900) = 450 สีขาว = q2(N) = (0.222)(900) = 199.8 N = จำนวนสัตว์ทั้งหมดในประชากร

6 เมื่อเปิด 2(1) จากตารางที่นัยสำคัญ 0.05 ที่ df 1 พบว่ามีค่า 3.84
Phenotype O f(genotype) E O-E (O-E)2 (O-E)2/E แดง 250 0.278 250.2 -0.2 0.04 โรน 450 0.5 ขาว 200 0.222 199.8 0.2 0.0002 รวม 900 1 0.0004 เมื่อเปิด 2(1) จากตารางที่นัยสำคัญ 0.05 ที่ df 1 พบว่ามีค่า 3.84 เนื่องจาก 2value < 2 (1) ดังนั้นจึง ยอมรับ Ho (null hypothesis) สรุปว่า ยีนควบคุมลักษณะการมีสีของโค มีความถี่ยีนอยู่ในสมดุลของ H-W อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อสังเกต : เนื่องจากความถี่ยีโนไทป์ สามารถคำนวณได้หากทราบความถี่ยีนใดยีน R หรือ r ตัวใดตัวหนึ่ง ดังนั้น จึงมี df = 1


ดาวน์โหลด ppt การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google