CLASSROOM ACTION RESEARCH

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย(Research Process)
การสร้างคำถาม.
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การทบทวนวรรณคดีที่เกี่ยวข้อง THE LITERATURE REVIEW
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การเขียนรายงานการวิจัย
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กระบวนการวิจัย Process of Research
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CLASSROOM ACTION RESEARCH Asst. Prof. Pragasit SITTHITIKUL, Ph.D. Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

GENERAL CONCEPTS ABOUT RESEARCH Research -- re + search search ข้อเท็จจริง งานวิจัยจะต้องมีข้อเท็จจริงอย่างน้อย 95% และ error 5% (เป็นข้อเสนอแนะ) Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Action Research Action Research (วิเคราะห์สถานการณ์ >>> สร้าง model >>> หาประสิทธิผลของ model >>> Action Research การนำผลงานวิจัยเดิม เพื่อแก้ปัญหา (Meta-analysis) >>>>> Action research กำลังเป็นที่นิยม Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Research Title วัตถุประสงค์ของงานวิจัยหรือโจทย์วิจัย ไม่ควรมีเกิน 5 ข้อ ชื่อเรื่องวิจัยควรจะต้องมี 4 องค์ประกอบ (MVVL) M= method, V= valuable, L= location Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL การวิจัยเชิงสำรวจหรือศึกษา จะไม่ใส่คำนี้ลงในชื่อเรื่องวิจัย ชื่อเรื่อง ถ้ามีประเด็นเก่า 2 ประเด็นขึ้นไป ถือว่าเรื่องนั้นไม่ใหม่ (MVVL) M= method, V= valuable, L= location Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Innovation นวัตกรรม ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ NEW DIFFERENT BETTER Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Theoretical Framework กรอบความคิด ==ตัวแปรต้น-ตัวแปรตาม คืออะไร กรอบแนวคิดทางวิจัยทางทฤษฎี (Theoretical conceptual framework) ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ต้อง review ทั้งหมด คือต้องลงรายละเอียดทุกตัวแปรที่เกี่ยวข้องโดยทั่วไปกับผลกระทบที่ศึกษา กรอบแนวคิดของการวิจัย (Actual conceptual framework) จะเกี่ยวข้องกับเฉพาะตัวแปรที่สำคัญๆ ที่เป็นสาเหตุของผลกระทบกับตัวแปรกับงานวิจัยที่ทำ Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Literature Review การทบทวนวรรณกรรม ให้ดูจาก key words (1 ตัวแปร ควรอ่านเอกสารประมาณ 11 เล่ม (ระดับ ปริญญาเอก) และ 7 เล่ม (ระดับ ปริญญาโทในการทำวิทยานิพนธ์) และ 3-5 เล่ม (ระดับ ปริญญาโทในการทำการศึกษาอิสระ) ไม่ควรอ้างอิงเอกสารที่เก่าเกิน 5 ปี ยกเว้น เป็นงานวิจัยประเภท historical research www.scholar.google.com Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Questionnaire แบบสอบถาม ไม่ควรมีเกิน 60 ข้อ ภายในเวลา 20 นาที หรือ 30 ข้อ ภายในเวลา 10 นาที การเรียงคำถามในแบบสอบถาม หากมีหลายตอน ไม่ควรเริ่มข้อ 1 ใหม่ในตอนต่อไป แต่ให้เรียงข้อคำถามต่อเนื่องตั้งแต่ข้อ 1 ถึงข้อสุดท้าย Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL โอกาสที่ผู้ตอบแบบสอบถาม และส่งกลับหลังส่งไปในครั้งแรก จะมีประมาณ 30% ดังนั้น 2 อาทิตย์ต่อมา เราจึงควรส่งไปให้คนที่ยังไม่ตอบกลับมา และปกติมักจะตอบกลับมาประมาณ 20% การส่งตามครั้งที่ 3 มักจะได้แบบสอบถามคืนกลับมา ประมาณ 10% Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Research Design การทำวิจัยโดยมีจุดประสงค์เพื่อเข้าใจปัญหา นักวิจัยจะสำรวจประเด็นนั้นๆ โดยอาจใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ (เก็บตัวเลขและใช้สถิติ) หรือวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (เก็บคุณลักษณะและวิเคราะห์เนื้อหา) ทำการวิจัยมีจุดประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหา ต้องทดลอง Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL การทำวิจัยเชิงปริมาณ จำนวนกลุ่มตัวอย่างต้องมากพอ แต่ไม่ควรน้อยกว่า 30 ตัวอย่าง การวิจัยเชิงคุณภาพ ไม่คำนึงถึงจำนวนกลุ่มตัวอย่าง แต่จะคำนึงว่าคนๆนั้นให้ข้อมูลดีหรือไม่ต้องสอบถาม key informants จนได้ข้อมูลอิ่มตัว คือถามจนไม่มีข้อมูลใหม่เพิ่มอีกแล้ว โดยอาจใช้ snowball technique หรือ purposive sampling Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Research Instrument ในการสร้างเครื่องมือวิจัย สิ่งที่ต้องคำนึงเป็นประเด็นหลัก ดูได้จากตัวแปร และสิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นประเด็นย่อยๆ คือ ดูจากนิยามศัพท์และนิยามตัวแปร และต้องคำนึงถึงความเหมาะสมในการนำไปใช้ได้ เช่น จำนวนข้อเหมาะสม เวลาที่ใช้ และ ครอบคลุมเนื้อหา Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL Data Analysis การวิเคราะห์ความพึงพอใจ ใช้สถิติเชิงบรรยาย (descriptive statistic) ค่าความเที่ยง (reliability) หรือค่าความเชื่อมั่นต้องมีค่าอย่างต่ำ 0.7 Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL การอ่านค่าในกรณีที่มี 5 ระดับ 1-1.5 น้อยที่สุด 1.51-2.5 น้อย 2.51-3.5 ปานกลาง 3.51-4.5 มาก 4.51-5 มากที่สุด Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL