วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบบัตรประจำตัวประชาชน โครงการขยายการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนแบบใหม่
Advertisements

คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
(Impulse and Impulsive force)
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Object Location Tracking System (OLTS)
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
Wireless Sensor Network in Industrial Application
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
Agenda วัตถุประสงค์ การออกแบบระบบ การทดสอบ ประโยชน์ที่ได้รับ
กลุ่ม QQQ แผนก วางแผนปรับปรุงและพัฒนา กอง ปรับปรุงพัฒนาระบบส่ง
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล
ตัวอย่าง Flowchart.
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Programs Computer CAD/CAM Company Logo.
Surachai Wachirahatthapong
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
SCC : Suthida Chaichomchuen
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี ๒๕๕๗
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
เครื่องวัดระดับน้ำในถังเก็บ
โปรแกรมจำแนกรุ่นรถยนต์โครงสร้างแบบ Relative bag of words (รุ่นสอง)
การสร้างผู้ชำนาญการด้าน IT Auditor ประจำปี 2554
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า
Programmable Controller
ง30208 การซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์
หุ่นยนต์สุดฮิต 35 แบบ สร้างเองได้ทันที
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
Basic Programming for AVR Microcontroller
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
วัตถุประสงค์ในการจัดงาน ส่งเสริมการออกกำลังกายของประชาชนเพิ่มขึ้น และต่อเนื่อง เฉลิมฉลองครบรอบ 118 ปีก่อตั้งเมืองอุดรธานี ส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดอุดรธานี
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การโปรแกรมPLC.
ภาระกิจด้านสารสนเทศ สำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องน้ำอาคารบริหาร คณะศิลปศาสตร์ โดย นายวุฒิชัย บุญแท้
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
สรุปผลการกำกับควบคุมน้ำหนักบรรทุกปี 2555
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
จัดทำโดย นางสาวพรรณทิวา พุทธาเทพ
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป สัปดาห์ที่ 15 วันที่ มกราคม 2557.
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงค์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC การควบคุมแบบเดิม S1 S2 K1 วงจรควบคุม Motor วงจรควบเมน K1 K1 S3 K2 Motor K2

วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC การควบคุมแบบใหม่ S1 S2 S3 K1 K2 สร้างเงื่อนไข ที่ต้องการควบคุม PLC

ขั้นตอนการใช้งาน PLC 1. กำหนดการทำงานของระบบ และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุตว่าต้องมีอะไร บ้าง 2. เขียน FLOWCHART ขั้นตอนการทำงานของเครื่องจักร 3. กำหนดเบอร์ อินพุต/เอาต์พุต เขียนแบบการเดินสายไฟเข้าอินพุต/เอาต์พุต 4. แปลงจาก FLOWCHART การทำงานของเครื่องให้เป็น LADDER 5. ตรวจสอบการเดินสายไฟของอินพุต/เอาต์พุต ( ใช้ FORCE SET/RESET ) 6. ทดสอบโปรแกรมให้ได้ตามขั้นตอนที่เขียนหากใช้งานได้ถูกต้องให้จัดเก็บเข้า FILE และหากใช้ไม่ได้ให้แก้ไข 7. พิมพ์โปรแกรมเก็บไว้ เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิง

ตัวอย่างการใช้งาน PLC ลานจอดรถสามารถจอดรถได้ไม่เกิน 10 คัน โดยมีรถวิ่งเข้าออกตลอดเวลา ต้องการให้มีไฟแสดงเตือนติดเมื่อมีรถจอดเต็ม10 คัน และหากรถน้อยกว่า10คัน ให้ไฟแสดงเตือนดับ เต็ม

1. กำหนดการทำงานของระบบ และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุตว่าต้องมีอะไรบ้าง อินพุต วัตถุประสงค์ Sensor1 ตรวจจับว่ามีรถเข้า Sensor2 ตรวจจับว่ามีรถออก เอาต์พุต วัตถุประสงค์ Lamp รถเต็ม

2. เขียน FLOWCHART ขั้นตอนการทำงานของเครื่องจักร เริ่ม เช็ครถเข้า-ออก รถเข้า 10 คัน ไฟแสดงรถเต็มติด ครบ ไม่ครบ จบ

I 000.00 I 000.01 O 010.00 3.1 กำหนดเบอร์ อินพุต/เอาต์พุต ใช้ PLC รุ่น CPM1A Photo Electric Sensor NPN Sensor 1 + - output I 000.00 Sensor 2 Photo Electric Sensor NPN + - output I 000.01 Lamp O 010.00

3.2 เขียนแบบการเดินสายอินพุต CH000 Com 00 01 02 + PLC 03 04 05 Sensor 1 Sensor 2

3.3 เขียนแบบการเดินสายเอาต์พุต CH010 PLC + 01 00 COM 02

4. แปลงจาก FLOWCHART การทำงานของเครื่องให้เป็น LADDER @ INC (38) 200 @ DEC (39) 000.00 000.01 CMP (20) #0010 253.13 (010.00) 255.05 255.06 > = END ทุกครั้งที่ Sensor 1 ตรวจจับว่ามีรถเข้า ให้เพิ่มค่าใน Channel 200 ทีละ 1 ทุกครั้งที่ Sensor2 ตรวจจับว่ามีรถออก ให้ลดค่าใน Channel 200 ทีละ 1 เปรียบเทียบค่าของ Channel 200 กับ10 (คัน) ถ้าหากค่าของ Channel 200 เท่ากับ หรือมากกว่า 10 ป้ายไฟจะติด Always on Flag เริ่ม เช็ครถเข้า-ออก ไม่ครบ รถเข้า 10 คัน ครบ ไฟแสดงรถเต็มติด จบ

5. ตรวจสอบการเดินสายไฟของอินพุต/เอาต์พุต ( ใช้ FORCE SET/RESET ) 6. ทดสอบโปรแกรมให้ได้ตามขั้นตอนที่เขียนหากใช้งานได้ถูกต้องให้จัดเก็บเข้า FILE และหากใช้ไม่ได้ให้แก้ไข 7. พิมพ์โปรแกรมเก็บไว้ เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิง