ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช ชื่อเรื่องวิจัย การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช.2 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ชื่อผู้วิจัย/ตำแหน่ง นางสาวจุฑารัตน์ จีบกล่ำ อาจารย์ผู้สอนสาขาวิชาช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ปัญหาการวิจัย นักศึกษาในชั้นเรียนส่วนใหญ่ไม่กล้าแสดงออก ว่ามีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาต่างๆที่ผู้วิจัยใน ฐานะครู กำลังสอนหรือทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการสอนในชั้นเรียน
วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง พฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาในชั้น เรียนระหว่างก่อนและหลังที่ผู้วิจัยประกาศให้ คะแนนการแสดงออกของนักศึกษาในชั้นเรียน
พฤติกรรมการกล้าแสดงออก ตัวแปรอิสระ (ตัวแปรต้น) ตัวแปรตาม การจัดการเรียนการสอน โดยใช้การเสริมแรง โดยการให้คะแนน นักศึกษาระดับปวช.2 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่ จำนวน 41 คน พฤติกรรมการกล้าแสดงออก เป็นรายบุคคล พฤติกรรมการกล้าแสดงออก เป็นรายกลุ่ม
ตาราง 2 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษา ตาราง 1 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ห้อง กส.2101 ครั้งที่สอน จำนวนนักศึกษาที่อาสาตอบคำถามผู้วิจัยหรือถามคำถามผู้วิจัย ก่อนประกาศ หลังประกาศ 1 6 12 2 7 17 3 18 4 ค่าเฉลี่ย 5.25 16.25 ตาราง 2 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ห้อง กส.2101 ครั้งที่สอน จำนวนนักศึกษาที่อาสาตอบคำถามผู้วิจัยหรือถามคำถามผู้วิจัย ก่อนประกาศ หลังประกาศ 1 8 2 3 10 5 14 4 15 ค่าเฉลี่ย 3.25 11.75
สรุปผลการวิจัย การที่ผู้วิจัยได้พิจารณาผลการวิเคราะห์ พบว่า พฤติกรรมการแสดงออกของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่ 2 แสดงว่านักศึกษามีพฤติกรรมการ แสดงออกของนักศึกษาในชั้นเรียน โดยรวมหลังจากที่ผู้วิจัยประกาศให้ คะแนนการแสดงออกมีการเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดีขึ้นจากพฤติกรรมเดิมมาก
การนำวิจัยไปใช้ประโยชน์ ได้แนวทางการแก้ไขปัญหา ปรับปรุง และส่งเสริมพฤติกรรมการ แสดงออกของนักเรียนให้พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาและส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษา ใน รายวิชาอื่นๆให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ควรทำการศึกษานวัตกรรมใหม่ที่สามารถนำมาประกอบกับการสอน วิชาการระดับก่อสร้าง เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ควรมีการเสริมแรง ยกย่องชมเชย และให้กำลังใจกับนักศึกษาอย่าง สม่ำเสมอ ในขณะที่ทำการเรียนการสอน