ผลการดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหา ยาเสพติด เขต 8 1 ตุลาคม 2546 – 31 มีนาคม 2547.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
Advertisements

สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งบประม าณ เงินทุน หมุนเวียนฯ งบบุคลากร ล้านบาท งบดำเนินงาน ล้านบาท ล้านบาท งบบุคลากร 4. 8 ล้านบาท งบดำเนินงาน 619 ล้านบาท
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักวิชาการและแผนงาน
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สาระสำคัญจากการประชุมคณะกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานกักขัง ควบคุม และสถานบำบัดของกระทรวงยุติธรรม ครั้งที่ 1/2552 แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบ่งออกเป็น.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
แผนยุทธศาสตร์ ไตรมาส ที่ 1 ไตรมาส ที่ 2 ไตรมาส ที่ 3 ไตรมาส ที่ 4 แผน 3 1. นักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 30% ทั่ว ประเทศได้มีการ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้านยาเสพติด.
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรุปภพรวมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด เรื่อง “ทบทวนสถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะ.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
ITกับโครงการ Food safety
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดชลบุรี
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหา ยาเสพติด เขต 8 1 ตุลาคม 2546 – 31 มีนาคม 2547

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปลุกพลังแผ่นดิน

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การควบคุมตัวยาและสารเคมี

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการเชิงบูรณาการ

จังหวัดได้รับใช้จ่าย แล้ว ร้อยละ ฉะเชิงเทร า 3,414,0003,277, สมุทรปรา การ 2,269,000500, นครนาย ก 735,500541, ปราจีนบุรี 1,362,5001,168, สระแก้ว 1,720,0001,200, รวม 9,501,0006,688, การใช้จ่ายงบประมาณ แต่ ละจังหวัด

ปัญหาอุปสรรค  ผู้ผ่านการบำบัด ไม่มาตามนัด ทำให้การติดตาม ไม่ต่อเนื่อง  โปรแกรม บสต. ผิดพลาด การล่าช้าของระบบ ทำให้ได้ข้อมูลไม่ถูกต้องและไม่เป็นปัจจุบัน  การบันทึกข้อมูล To Be Number One ของ ส่วนกลางมีการเปลี่ยนแปลง ( มีการส่งข้อมูลของทุกจังหวัดกลับ ให้จังหวัด ดำเนินการเอง )

แนวทางการแก้ไขปัญหา  ประสานการติดตามกับผู้นำชุมชน / อาสาสมัคร สาธารณสุขหมู่บ้าน  ปรับหลักสูตรกระบวนการบำบัดให้สอดคล้องกับ กลุ่มเป้าหมาย  ประสานผู้รับผิดชอบระบบรายงาน บสต. ของ ส่วนกลาง

แนวทางการพัฒนา 6 เดือน หลัง จังหวัดจำนวน โครงการ งบประมาณ ฉะเชิงเทรา 473,379,000 สมุทรปราก าร 82,337,500 นครนายก 10530,000 ปราจีนบุรี 111,624,430 สระแก้ว 252,710,500 รวม 10110,581,430

ผลการดำเนินงาน เขต 8 ผลการดำเนินงานการลดปัจจัยเสี่ยง การเกิดโรคจากการสูบบุหรี่และดื่ม สุรา เขต 8 1 ตุลาคม 2546 – 31 มีนาคม 2547

การลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคจากการสูบบุหรี่และดื่ม สุรา เขต 8 สถานการณ์ อัตราการบริโภคยาสูบในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป เขต 8 จังหวัดอัตราการบริโภคบุหรี่ ( ร้อยละ ) หมายเหตุ สมุทรปราการ ข้อมูลปี 2547 ฉะเชิงเทรา ข้อมูลปี 2544 ปราจีนบุรี NA อยู่ระหว่างดำเนินการ นครนายก 11.3 ข้อมูลปี 2544 สระแก้ว NA อยู่ระหว่างดำเนินการ เฉลี่ย เขต

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การลดอัตราการบริโภคยาสูบของ ประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปให้ไม่ เกินร้อยละ 21

การดำเนินคดีกับผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย * กรณีสูบบุหรี่ในที่ห้ามสูบ ไม่มีจังหวัดใดดำเนินคดี * กรณีจำหน่ายบุหรี่ให้เด็กอายุต่ำ กว่า 18 ปี จังหวัดสมุทรปราการมีการ ดำเนินคดี 3 ราย

ผลการดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหา ยาเสพติด เขต 9 1 ตุลาคม 2546 – 31 มีนาคม 2547

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปลุกพลังแผ่นดิน

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การควบคุมตัวยาและสารเคมี

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการเชิงบูรณาการ

จังหวัดได้รับใช้จ่าย แล้ว ร้อยละ จันทบุรี 1,762,000287, ระยอง 970,500636, ชลบุรี 1,359,000340, ตราด 593,000337, รวม 4,684,5001,600, การใช้จ่ายงบประมาณ แต่ ละจังหวัด

ปัญหาอุปสรรค  สถานีอนามัยไม่มีระบบ Internet  Computer ส่วนใหญ่เป็นรุ่นเก่า ปรับปรุงระบบ ไม่ได้  ระบบ บสต. เมื่อลงข้อมูลผิดพลาด ไม่สามารถ แก้ไขได้  การติดตาม ผู้เสพ / ผู้ติด ในทางปฏิบัติ ไม่มี หน่วยงานอื่นร่วมด้วย  การบันทึกข้อมูล To Be Number One ของ ส่วนกลางมีการเปลี่ยนแปลง ( มีการส่งข้อมูลของทุกจังหวัดกลับ ให้จังหวัด ดำเนินการเอง )

แนวทางการแก้ไขปัญหา  สนับสนุนงบประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบ / เปลี่ยนเครื่อง Computer  ส่วนกลางปรับปรุงระบบรายงานให้ใช้งานได้ ง่ายขึ้น  ควรมีการชี้แจง ทบทวน บทบาท หน้าที่ของแต่ ละกระทรวง

แนวทางการพัฒนา 6 เดือน หลัง จังหวัดจำนวน โครงการ งบประมาณ จันทบุรี 51,278,000 ระยอง 181,957,280 ชลบุรี 1/18 กิจกรรม 2,718,000 ตราด 16639,280 รวม 496,592,560

ผลการดำเนินงาน เขต 9 ผลการดำเนินงานการลดปัจจัยเสี่ยง การเกิดโรคจากการสูบบุหรี่และดื่ม สุรา เขต 9 1 ตุลาคม 2546 – 31 มีนาคม 2547

สถานการณ์ อัตราการบริโภคยาสูบในประชาชน อายุ 15 ปี ขึ้นไป เขต 9 จังหวัดอัตราการบริโภคบุหรี่ ( ร้อยละ ) หมายเหตุ ชลบุรี 22.4 ข้อมูล ปี 2544 ระยอง ข้อมูลปี 2546 จันทบุรี ข้อมูลปี 2547 ตราด NA อยู่ระหว่าง ดำเนินการ เฉลี่ย เขต

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การลดอัตราการบริโภคยาสูบของ ประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ให้ไม่ เกินร้อยละ 21

การดำเนินคดีกับผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย * กรณีสูบบุหรี่ในที่ห้ามสูบ ไม่มีจังหวัดใดดำเนินคดี * กรณีจำหน่ายบุหรี่ให้เด็กอายุต่ำ กว่า 18 ปี จังหวัดชลบุรีมีการดำเนินคดี 2 ราย

สวัสดี