โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
กลไกการวิวัฒนาการ.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
หินแปร (Metamorphic rocks)
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์
BIOL OGY.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Sarote Boonseng Nucleic acids.
Liquid Crystal Display (LCD)
มาลัยกลม ความหมายของมาลัยกลม
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
Mind Mapping.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Properties and Classification
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
ครูเอื้อมพร เอี่ยมแพร
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
พันธะเคมี.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การเข้าไม้.
การศึกษา DNA การศึกษาโครงสร้างของ DNA นักฟิสิกส์ได้ใช้เทคนิคอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เอกซ์เรย์ ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) ศึกษาโครงสร้างของสารเคมีต่าง.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
Facies analysis.
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
เครื่องมือวิเคราะห์บริบทชุมชน แผนผังเมทริกซ์ (Matrix Diagram)
Transcription (การถอดรหัส)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างของ DNA ปี พ.ศ. 2493-2494 มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H.F. Wilkins) และโรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นักฟิสิส์ชาวอังกฤษ ศึกษาโครงสร้างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ โดยใช้เทคนิค เอกซ์เรย์ดิฟแรฟกชัน (X-ray diffraction) ด้วยการฉายรังสีเอกซ์ ผ่านผลึก DNA การหักเหของรังสีเอกซ์ ทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์ม ได้ภาพถ่ายที่ชัดเจนมาก ซึ่งแปลผลได้ว่า โครงสร้างของ DNA จากสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายกันมากคือ ประกอบด้วยสายพอลีนิวคลีโอไทด์มากกว่า 1 สาย มีลักษณะเป็นเกลียว โยเกลียวแต่ละรอบมีระยะห่างเท่าๆ กัน ผลจากการศึกษานี้ ทำให้เข้าใจโครงสร้างทางกายภาพของ DNA มากขึ้น

ปี พ. ศ. 2496 เจมส์ ดี วอตสัน (James D ปี พ.ศ. 2496 เจมส์ ดี วอตสัน (James D. Watson) นักชีวเคมีชาวอเมริกัน และฟรานซีส คริก (Francis Crick) นักฟิสิส์ชาวอังกฤษ ได้เสนอแบบจำลองโครงสร้างโมเลกุล DNA ที่สมบูรณ์ที่สุด โดยรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากโครงสร้างทางเคมีของส่วนประกอบของโมเลกุล DNA จากผลการทดลองของ ชาร์กาฟฟ์ที่แสดงให้เห็นว่า DNA มี A = T และ C = G และภาพจากเทคนิค เอกซ์เรย์ดิฟแรฟกชันของผลึก DNA

จากข้อมูลของชาร์กาฟฟ์ ทำให้วอตสันและคริก พยายามหาพันธะเคมีที่จะเชื่อมพอลีนิวคลีโอไทด์ 2 สายให้ติดกัน และพบว่า เป็นพันธะไฮโดรเจน ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างคู่เบส แม้จะไม่แข็งแรงแต่เมื่อมีจำนวนมากก็จะแข็งแรงพอที่จะยึดสายพอลีนิวคลีโอไทด์ 2 สายให้เข้าคู่กันได้ และจากการศึกษาโครงสร้างของเบส ทั้ง 4 ชนิด พบว่า ระหว่าง A กับ T สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนได้ 2 พันธะ และระหว่าง C กับ G เกิดได้ 3 พันธะ

หลังจากนั้นวิตสันและคริก จึงเสนอโครงสร้างโมเลกุลของ DNA โยให้พอลีนิวคลีโอไทด์ 2 สายเรียงสลับทิศกันและบิดพันกันเป็นเกลียวคู่ (Duoble helix) เวียนขวาตามเข็มนาฬิกา เบส a ของอีกสายหนึ่งตรงกับเบส T ของอีกสายหนึ่ง และเบส C ของอีกสายหนึ่งตรงกับเบส G ของอีกสายหนึ่งเสมอ เบสในแต่ละสายของ DNA ที่เป็นเบสคู่ผสม (complementary base pair) ยึดกันด้วยพันธะไฮโดรเจน โยเกลี่ยวแต่ละรอบห่างเท่าๆ กันและมีคู่เบสจำนวนเท่ากัน โครงสร้างเกลี่ยวคู่ทำให้โครงสร้างของ DNA มีลักษณะคล้ายบันไดเวียนโยมีน้ำตาลดีออกซีไรโบสจับกับหมู่ฟอสเฟต เป็นราวบันไดและบันไดแต่ละขั้นคือ คู่เบส 1 คู่

โครงสร้าง DNA ที่เป็นพอลีนิวคลีโอไทด์ 2 สาย โดยโครงสร้างเกลี่ยวคู่มีระยะห่าง 20 อังสตรอม (AO) เกลียวแต่ละรอบห่างกัน 34 อังสตรอม แต่ละคู่เบสมีระยะห่างกัน 3.4 อังสตรอม โครงสร้าง DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์จำนวนมาก แม้ว่า DNA จะมีนิวคลีโอไทด์เพียง 4 ชนิด แต่โมเลกุล DNA มีความแตกต่างกันได้ เช่น ถ้า DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์ 2 โมเลกุลเรียงกัน จะสามารถเรียงให้แตกต่างกันได้ 16 แบบ ( 42 ) ดังนั้นถ้าโมเลกุล DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์จำนวนมาก การเรียงของเบสก็จะแตกต่างกันมากด้วย ใน DNA ของสิ่งมีชิวตแต่ละชนิดอาจมีนิวคลีโอไทด์หลายพันคู่จนถึงนับล้านคู่ ทำให้มีรูปแบบของ DNA ได้อย่างหลากหลาย ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตหนึ่งๆ มีหลายลักษณะและลำดับเบสของ DNA ซึ่งเกิดจากเบสชนิดต่างๆ กันก็มีหลายรูปแบบ จึงน่าจะมากพอที่จะทำหน้าที่ควบคุมหรือกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมได้

โครงสร้างของ DNA ปี พ.ศ. 2493-2494 มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H.F. Wilkins) และโรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นักฟิสิส์ชาวอังกฤษ ศึกษาโครงสร้างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ โดยใช้เทคนิค เอกซ์เรย์ดิฟแรฟกชัน (X-ray diffraction) ด้วยการฉายรังสีเอกซ์ ผ่านผลึก DNA การหักเหของรังสีเอกซ์ ทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์ม ได้ภาพถ่ายที่ชัดเจนมาก ซึ่งแปลผลได้ว่า โครงสร้างของ DNA จากสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายกันมากคือ ประกอบด้วยสายพอลีนิวคลีโอไทด์มากกว่า 1 สาย มีลักษณะเป็นเกลียว โยเกลียวแต่ละรอบมีระยะห่างเท่าๆ กัน ผลจากการศึกษานี้ ทำให้เข้าใจโครงสร้างทางกายภาพของ DNA มากขึ้น

โครงสร้างของ DNA ปี พ.ศ. 2493-2494 มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H.F. Wilkins) และโรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นักฟิสิส์ชาวอังกฤษ ศึกษาโครงสร้างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ โดยใช้เทคนิค เอกซ์เรย์ดิฟแรฟกชัน (X-ray diffraction) ด้วยการฉายรังสีเอกซ์ ผ่านผลึก DNA การหักเหของรังสีเอกซ์ ทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์ม ได้ภาพถ่ายที่ชัดเจนมาก ซึ่งแปลผลได้ว่า โครงสร้างของ DNA จากสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายกันมากคือ ประกอบด้วยสายพอลีนิวคลีโอไทด์มากกว่า 1 สาย มีลักษณะเป็นเกลียว โยเกลียวแต่ละรอบมีระยะห่างเท่าๆ กัน ผลจากการศึกษานี้ ทำให้เข้าใจโครงสร้างทางกายภาพของ DNA มากขึ้น