นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
Advertisements

ICT & LEARN.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี

โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน พฤติกรรมและความต้องการใช้ทรัพยากร สารสนเทศและการบริการของผู้ใช้บริการ ห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน

ปัญหาการวิจัย ห้องสมุด เป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทำหน้าที่ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ตลอดจนถึงเทคโนโลยีทางการศึกษา อีกทั้งยังมี เครื่องมือในการค้นหาและการให้บริการสื่อต่างๆเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้บริการ จึงทำการศึกษาวิจัย เพื่อต้องการทราบถึงพฤติกรรมและความต้องการผู้ใช้บริการห้องสมุด นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ว่ามีพฤติกรรมการใช้และมีความต้องการใช้บริการ ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดอย่างไร เพื่อจะสามารถดำเนินการจัดให้การบริการได้สอดคล้อง ตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ อันเป็นการสนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้อง กับ ปณิธาน วิสัยทัศน์ และวัตถุประสงค์ของห้องสมุด ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการห้องสมุด ของผู้ใช้ห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ 2.เพื่อศึกษาความต้องการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ของผู้ใช้ห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ

สรุปผลการวิจัย ผู้ใช้บริการห้องสมุด เป็นเพศชาย ร้อยละ 51 เพศหญิง ร้อยละ 49 นักศึกษามาใช้บริการทั้งหมดร้อยละ 81.0  ระดับชั้นปวช. มาใช้บริการมากที่สุด ร้อยละ 70.7 สถานภาพครู /อาจารย์ ร้อยละ 9.4 บุคลากรทางการศึกษา 9.6 ความถี่ของการมาใช้บริการคือ 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ ร้อยละ 58.7 ระยะเวลาในการใช้บริการแต่ละครั้งของผู้ใช้บริการ 30-60 นาที ร้อยละ 49.8 ช่วงเวลาในการใช้บริการ 12.00 -13.00 น. มีผู้ใช้บริการมากที่สุด ร้อยละ 40.4 นักศึกษาส่วนใหญ่มาใช้บริการห้องสมุดเพื่อใช้บริการอินเตอร์เน็ต บริการอ่าน บริการยืม-คืน เป็นลำดับ

สรุปความพึงพอใจการใช้บริการห้องสมุด ทั้ง 5 ด้าน สรุปความพึงพอใจการใช้บริการห้องสมุด ทั้ง 5 ด้าน ความพึงพอใจ S.D ระดับความพึงพอใจ ความพึงพอใจด้านทรัพยากร 3.76 1.37 ปานกลาง ความพึงพอใจด้านบริการ 3.36 1.03 ความพึงพอใจผู้ให้บริการ 3.04 0.76 ความพึงพอใจด้านสถานที่ฯ 3.05 1.05 ความพึงพอใจ ด้านการสื่อสารกับผู้ใช้ 3.33 1.16 ค่าเฉลี่ยรวม 3.31 1.27

ข้อสรุปที่ได้จากการแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจากกลุ่มตัวอย่าง 1. ด้านทรัพยากร ควรเพิ่มหนังสือ โสตทัศนวัสดุ ที่ทันสมัย และ วารสาร- หนังสือพิมพ์ที่หลากหลาย ไว้ให้บริการอย่างต่อเนื่อง 2. ด้านบริการ ควรเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการอินเทอร์เน็ตให้เพียงพอต่อการ ให้บริการและ เพิ่มสัญญาน wifi ในห้องสมุด เนื่องจากมีผู้ใช้บริการห้องสมุด บางส่วนใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในการค้นหา ข้อมูล 3. ด้านสถานที่ ควรเพิ่มจำนวนโต๊ะและเก้าอี้ให้มากขึ้น และติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เพื่อให้มี บรรยากาศที่เย็นสบายเอื้อต่อการค้นคว้าหาความรู้ 4. ด้านการสื่อสารกับผู้ใช้ ควรเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้บริการเพิ่มมากขึ้น

ข้อเสนอแนะในการนำผลงานวิจัยไปใช้ 1. ควรมีการประเมินผลการให้บริการของห้องสมุดทุกปี เพื่อจะได้ ทราบปัญหาการให้บริการและและหาแนวทางการแก้ไขปัญหา และพัฒนาให้บริการงานห้องสมุด 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบผลการให้บริการของห้องสมุด สถาบันอื่น หรือแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เพื่อมาปรับแนวทางในการให้บริการ ให้มีประสิทธิภาพ

ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมและความคิดเห็นต่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศและการบริการห้องสมุด ของผู้ใช้ห้องสมุด 2. ทำให้ทราบถึงความต้องการในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศและการบริการห้องสมุด 3. เพื่อเป็นแนวทางในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ และปรับปรุงการให้บริการ ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ห้องสมุด 4. เพื่อเสนอแนะแนวทางสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ในการกำหนดนโยบาย และการพัฒนาห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

....สวัสดีค่ะ…..