สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สมดุลเคมี.
โรงเรียน บ้านบึงสามัคคีกำแพงเขต
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ดิน(Soil).
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สมบัติของสารและการจำแนก
Dust Explosion.
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
หินแปร (Metamorphic rocks)
สบู่สมุนไพร.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
บทนำ แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการติวสอบ O-net ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 และผู้ที่สนใจได้ฝึกและทบทวนความรู้ โดยขอบข่ายเนื้อหาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
ผลิตภัณฑ์ยาหม่อง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
สังกะสี แคดเมียม.
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
การจำแนกประเภทของสาร
Science Quiz Show ภูมิใจนำเสนอ
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
ปิโตรเลียม.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
แผนการจัดการเรียนรู้
ธาตุและสารประกอบ จัดทำโดย เด็กหญิงสุปราณี เทียนทอง
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา อ.นาด้วง จ.เลย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19

สสารและสาร    สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราไม่ว่าจะเป็นเสื้อผ้า อาหาร ของใช้ในชีวิตประจำวัน เครื่องอำนวยความสะดวก สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมทั้งต้นไม้ ดิน น้ำ อากาศ นัก วิทยาศาสตร์จัดสิ่งเหล่านี้เป็นสสาร    สสาร (matter)คือสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีตัวตน ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือไม่เห็นก็ได้ เช่น อากาศ เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสสารที่รู้จักแล้วว่าสาร    สาร (substance) คือสสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอนซึ่งก็คือเนื้อของสสารนั่นเอง

สมบัติของสาร อาจจะนำมาแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ ก. สมบัติทางกายภาพ หมายถึง สมบัติเฉพาะตัวของสารที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายจากลักษณะภายนอก หรือจากการทดลองง่ายๆ โดยไม่เกี่ยวข้องกับ การเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างทางกายภาพได้แก่ สถานะ รูปร่าง สี กลิ่น รส การละลาย จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น การนำความร้อน การนำไฟฟ้า ความร้อนแฝง ความถ่วงจำเพาะ เป็นต้น ข. สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติเฉพาะตัวของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเกิดสารใหม่ การสลายตัวให้ได้สารใหม่ การเผาไหม้ การระเบิด และการเกิดสนิมของโลหะ เป็นต้น

การจำแนกสาร สถานะของสารเป็นเกณฑ์  แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. แก๊ส เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิเจน เป็นต้น 2. ของเหลว เช่น น้ำ น้ำเชื่อม เป็นต้น 3. ของแข็ง เช่น โลหะ พลาสติก เป็นต้น การนำไฟฟ้าเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สารที่นำไฟฟ้าได้ 2. สารที่ไม่นำไฟฟ้า 3. ลักษณะเนื้อสารเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สารเนื้อเดียว 2. สารเนื้อผสม

แบบทดสอบ ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก และ x หน้าข้อความที่ผิด ……..1 ธาตุทุกชนิดเป็นสารเนื้อเดียว ……..2 สารละลายบางชนิดเป็นสารเนื้อเดียว ……..3 สารละลายบางชนิดเป็นสารไม่บริสุทธิ์ ……..4 สารบริสุทธิ์บางชนิดเป็นสารละลาย ……..5 สารประกอบทุกชนิดเป็นสารบริสุทธิ์ ……..6 สารบริสุทธิ์บางชนิดเป็นธาตุ ……..7 สารละลายบางชนิดเป็นธาตุ ……..8 น้ำคลองเป็นสารเนื้อเดียว ……..9 เหรียญบาทเป็นสารเนื้อเดียว ……..10 น้ำส้มสายชูเป็นสารเนื้อผสม

เฉลยแบบทดสอบ ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก และ x หน้าข้อความที่ผิด …/…..1 ธาตุทุกชนิดเป็นสารเนื้อเดียว …x…..2 สารละลายบางชนิดเป็นสารเนื้อเดียว …/…..3 สารละลายบางชนิดเป็นสารไม่บริสุทธิ์ …x…..4 สารบริสุทธิ์บางชนิดเป็นสารละลาย …/…..5 สารประกอบทุกชนิดเป็นสารบริสุทธิ์ …/…..6 สารบริสุทธิ์บางชนิดเป็นธาตุ …x…..7 สารละลายบางชนิดเป็นธาตุ …x…..8 น้ำคลองเป็นสารเนื้อเดียว …/…..9 เหรียญบาทเป็นสารเนื้อเดียว …x…..10 น้ำส้มสายชูเป็นสารเนื้อผสม