เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การบริหารราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
VDO conference dengue 1 July 2013.
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
งานยาเสพติด.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2552 สรุปผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ในระยะที่ผ่านมา

ลดการป่วยและเสียชีวิต / ควบคุมโรคได้ รวดเร็ว มีระบบความร่วมมือจากการเรียนรู้ สถานการณ์ในประเทศ มีการเตรียมความพร้อมรับการระบาดใหญ่ ของโรคไข้หวัดใหญ่ ที่เกิดจากการกลาย พันธุ์จากไข้หวัดนก ตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ประสบการณ์ควบคุมโรคไข้หวัดนก ความแตกต่างไข้หวัดนกไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ (เอช๑ เอ็น๑) อาการ/การเสียชีวิตรุนแรงสูง / สูงรุนแรงน้อย / ต่ำ ลักษณะการแพร่ระบาดชนบท เข้าสู่เขตเมืองเขตเมือง เข้าสู่ชนบท และ แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว เป็นวงกว้าง ผู้ติดเชื้ออยู่ภายในประเทศเดินทางมาจากต่างประเทศ (ยังไม่มีการแพร่ในประเทศ)

สรุปผลการดำเนินงาน (1) กระทรวง สาธารณสุ ข 1. การสกัดกั้น การป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่เข้ามาภายในประเทศ 2. การเฝ้าระวังค้นหาและควบคุมโรค ค้นหาผู้ป่วยและติดตามผู้สัมผัสโดยเร็ว 3. การดูแลรักษาผู้ป่วย ให้การวินิจฉัยรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ 4. การเตรียมความพร้อมวงกว้าง การให้ความรู้ประชาชน 5. การเตรียมพร้อมในระบบสาธารณสุข เพื่อเข้าสู่การแพร่ระบาดภายในประเทศ

วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ ผู้โดยสารเดินทางเข้าประเทศ จำนวน ๒๙, ๒๕๖ คน พบผู้โดยสารที่มีไข้โดย Thermoscan จำนวน ๘ ราย ตรวจซ้ำโดย Ear Thermometer พบมีไข้ จำนวน ๗ ราย ผู้โดยสารที่มีไข้ได้รับการส่งต่อไปโรงพยาบาล จำนวน ๒ ราย ยอดสะสมการคัดกรอง ถึงวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๒ ผู้โดยสารเดินทางเข้าประเทศ รวมทั้งสิ้น ๑, ๒๒๓, ๐๕๖ ราย พบผู้โดยสารที่มีไข้โดย Thermoscan จำนวน ๓๓๒ ราย ตรวจซ้ำโดย Ear thermometer พบมีไข้ จำนวน ๒๕๐ ราย ผู้โดยสารที่มีไข้ได้รับการส่งต่อไปโรงพยาบาล จำนวน ๒๐ ราย มาตรการสกัดกั้น

สรุปผลการดำเนินงาน (2) กระทรวงมหาดไทย สั่งการให้ผู้ว่าราชการทุก จังหวัด เพื่อจัดตั้งศูนย์อำนวยการ / ประชาสัมพันธ์ และ เตรียมความพร้อมร่วมกับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กระทรวงศึกษาธิการ เร่งรัดการป้องกันโรคใน สถานศึกษา / อบรมครู / จัดทำแนวทางการควบคุมโรค เมื่อมีการระบาดในโรงเรียน และ เฝ้าระวังเด็กที่กลับ จากต่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ อบรมเจ้าหน้าที่ สถานทูต / สนับสนุนข้อมูลและมาตรการของ ต่างประเทศ / จัดส่งยาและอุปกรณ์ให้สถานเอกอัคร ข้าราชทูตในต่างประเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เผยแพร่ แนวทางการเฝ้าระวังและติดตามผู้สัมผัสที่เดินทาง จากต่างประเทศ / จัดทำแนวทางประสานงานเผยแพร่ ให้นักท่องเที่ยว สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ได้ตรวจคัดกรองผู้ เดินทางเข้าประเทศ ที่สนามบินนานาชาติ ตาม มาตรการสกัดกั้นเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่เข้ามา ภายในประเทศ กระทรวงคมนาคม จัดทำแผนปฏิบัติการเตรียม ความพร้อมรับการระบาด กระทรวงหรือหน่วยงานอื่น สามารถเพิ่มเติมใน ที่ประชุมได้