แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
Advertisements

ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ กลยุทธ์ การดำเนินงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ 1.การสนับสนุนเชิงนโยบาย 2.การสื่อสารประชาสัมพันธ์ 3. การสนับสนุนเชิงปฏิบัติการ 4. การสนับสนุนทรัพยากร 5. สร้างขวัญกำลังใจ 6. การติดตามและประเมินผล ระดับจังหวัด (สสจ.) คัดเลือกหมู่บ้านดำเนินการ ประสานความร่วมมือภาคี/จังหวัด สื่อสารประชาสัมพันธ์ สนับสนุน/ติดตาม ประเมินผล ระดับตำบล ประสานความร่วมมือภาคีในหมู่บ้าน ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน วางแผนพัฒนา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเมินผลการพัฒนา ระดับหมู่บ้าน จัดปัจจัยเอื้อ จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชนในพื้นที่ เป้าหมายมีความรู้ มีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ลด ความเสี่ยง ต่อการ เกิดโรค

หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมที่ถูกต้อง 1. การออกกำลังกาย 2. การรับประทานผักและผลไม้สด เป็นหมู่บ้านที่มีปัจจัยเอื้อ 1. มีสถานที่สาธารณะเพื่อการออกกำลังกาย 2. มีแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก 3. ครัวเรือน/ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ เป็นหมู่บ้านที่มีภาคี/เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน 1. ผู้นำชุมชน 2. องค์กรในท้องถิ่น

ประเมินการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประเมินครอบคลุม 4 เรื่อง 1. การบริหาร/จัดการการพัฒนาหมู่บ้าน ผู้รับผิดชอบ/ทีมงาน แผนการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมของภาคี งบประมาณในการดำเนินงาน 2. การจัดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการที่ก่อให้เกิดปัจจัยเอื้อ

3. ผลที่เกิดในหมู่บ้าน 4. ผลที่เกิดกับประชาชน ครัวเรือน/ชุมชน ปลูกผักปลอดสารพิษ สถานที่ออกกำลังกาย สถานที่จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. ผลที่เกิดกับประชาชน ความพึงพอใจกระบวนการพัฒนา ความรู้และพฤติกรรมที่ถูกต้อง การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา

ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ มาตรฐานงานสุขศึกษา ปัจจัยนำเข้า + กระบวนการ 10. ผลลัพธ์ 1. นโยบาย ด้านผู้รับบริการ 8.เฝ้าระวัง 3. ระ บบ ข้อ มูล 2.ทรัพยากร 9.วิจัย 4.วางแผน ด้านชุมชน 5.ดำเนินงาน 6. นิเทศ ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ 7.ประเมินผล ความเชื่อมโยงของ 9 องค์ประกอบ

ผลลัพธ์ด้านชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมสุขศึกษา เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ให้ข้อมูลข่าวสาร ร่วมคิด ร่วมทำ ตรวจสอบ

ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อ ชุมชนเป็นฐาน (Community – based intervention) ลดปัจจัยเสี่ยง ลดโรค ปัจจัยเสี่ยงร่วม ลด 5 โรค ออกกำลังกาย+บริโภค 1. โรคหัวใจหลอดเลือด 2. โรคหลอดเลือดสมอง 3. โรคเบาหวาน 4. โรคความดันโลหิตสูง 5. โรคมะเร็ง การบูรณาการ - ป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงร่วม - การใช้และเข้าถึงบริการ - การมีส่วนร่วมของชุมชน

ปัจจัยสำเร็จของการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. ผสมผสานการดำเนินงานให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในชุมชน 2. การวางแผน การกำหนด/เลือกกลยุทธ์ / กิจกรรมการดำเนินงาน ควรสอดคล้องบรรทัดฐานทางสังคมของชุมชน (ความร่วมมือ จากชุมชน) 3. เป้าหมายการดำเนินงาน คือ ให้ความสำคัญกับการลดปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดการเกิดโรค 4. ความเข้าใจในวัตถุประสงค์การทำงานและความร่วมมือจาก ชุมชนเป็นหัวใจของความสำเร็จในการทำงาน

สวัสดี