นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
Thesis รุ่น 1.
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ร้านจำหน่ายหนังสือ ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข (1)
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ก ารพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ Development to excellence of Technical information division working group.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การประเมินผลการเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
โครงการ ส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
การวัดผล (Measurement)
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
แนวคิดในการทำวิจัย.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ขอบเขตของการพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากร สารสนเทศ การศึกษาปริมาณของ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ Information Resources Development or Collection Development นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ขอบเขตเนื้อหาที่จะรวบรวม ประเภททรัพยากรสารสนเทศที่จะรวบรวม ขอบเขตการคัดเลือก ขอบเขตการจัดหา ขอบเขตการคัดออก

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ตัวอย่างนโยบายฯ

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ตัวอย่างเพิ่มเติม ตัวอย่างจากต่างประเทศ

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ การเลือก คือกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับคุณภาพและประโยชน์ของทรัพยากรสารสนเทศที่จะจัดหามาไว้ให้บริการแก่ผู้ใช้ เป็นงานสำคัญที่ต้องดำเนินการก่อนการจัดหา การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ เป็นงานสำคัญมากอย่างหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ผู้รับผิดชอบงานด้านนี้จะต้องพิจารณาเลือกเฉพาะทรัพยากรที่มีคุณค่า ตรงกับความสนใจ และความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ปรัชญาของรังกานาธาน (Mr. Ranganathan ) หนังสือมีไว้ใช้ประโยชน์ (books are for use) ผู้อ่านแต่ละคนมีหนังสือที่ตนจะอ่าน (every reader his book) หนังสือทุกเล่มมีผู้อ่าน (every book its reader) ประหยัดเวลาผู้อ่าน (save the time of the reader) ห้องสมุดเป็นสิ่งที่มีชีวิตเติบโตได้ (a library is a growing organ)

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ความสำคัญของการคัดเลือก หรือ ทำไมเราถึงต้องเลือก? การคัดเลือกมีผลต่อการให้บริการในอนาคต ใช้วัดมาตรฐานของห้องสมุดได้ ห้องสมุดมีความแตกต่างกัน ผู้ใช้แตกต่างกัน / ความต้องการต่างกัน

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศที่มีจำนวนมาก ความแตกต่างกันของทรัพยากรสารสนเทศ คุณภาพที่ดีสำหรับให้บริการ จำนวนงบประมาณ สถานที่ของห้องสมุด

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ผู้รับผิดชอบ/ผู้เกี่ยวข้องกับการคัดเลือก บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ครู อาจารย์ คณะกรรมการห้องสมุด ผู้บริหาร ผู้ใช้บริการห้องสมุด

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ คุณสมบัติของผู้คัดเลือก มีความรู้อย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับหนังสือในสาขาวิชา รู้จักนักเขียนในแต่ละสาขาวิชา รู้ถึงพัฒนาการวรรณกรรมในแต่ละสาขาวิชา รู้จักสำนักพิมพ์ ความมีชื่อเสียงแต่ละด้าน มีความรู้ทางวิชาการสาขาต่างๆ

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ คุณสมบัติของผู้คัดเลือก รู้จักและคุ้นเคยกับผู้ใช้ห้องสมุด มีความยุติธรรม ไม่ลำเอียง ไม่อคติ มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือช่วยในการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ มีความสามารถในการอ่านได้รวดเร็ว เข้าใจได้ทันที

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ คุณสมบัติของผู้คัดเลือก เป็นนักอ่าน พยายามอ่านหนังสือทุกประเภท ติดตามความเคลื่อนไหว มีความรู้ในวิธีพิจารณาหนังสือ วิจารณ์หนังสือ มีความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของห้องสมุด

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก เลือกทรัพยากรที่ให้ประโยชน์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และนโยบายห้องสมุด เลือกให้ครอบคลุม มีสัดส่วนสมดุลกันแต่ละสาขา เลือกทรัพยากรที่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ ใช้หลักประเมินคุณค่าในการคัดเลือก

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก ไม่อคติ เป็นทรัพยากรที่ไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี เลือกทรัพยากรที่คนจะใช้มาก เลือกที่มีความใหม่ ทันสมัย เลือกตามงบประมาณ เลือกที่จำเป็นกับห้องสมุด

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ข้อควรคำนึงถึงในการคัดเลือก ความสนใจของผู้อ่าน ผู้ใช้ จำนวนและประเภทของทรัพยากรในแต่ละสาขา แผนพัฒนาห้องสมุดในอนาคต สำรวจตลาดหนังสือเพื่อทราบความเคลื่อนไหว

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ วิธีในการคัดเลือกทรัพยากรห้องสมุด แต่งตั้งคณะกรรมการ ขอความร่วมมือจากบุคลากร ให้ผู้ใช้บริการเสนอรายการที่น่าสนใจ บรรณารักษ์คัดเลือกเอง

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ปัญหาในการคัดเลือกทรัพยากร ทรัพยากรบางประเภท บางสาขา มีเฉพาะบางภาษา ขาดแคลนคู่มือ แหล่งในการคัดเลือก ทรัพยากรบางรายการอาจไม่ได้เห็นฉบับจริงก่อนตัดสินใจเลือก ห้องสมุดบางแห่งมีผู้คัดเลือกเพียงคนเดียว หรือเฉพาะคนบางกลุ่ม