Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน

นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อวิชากิจกรรมการจัด ตกแต่งดอกไม้ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 3 กลุ่ม A31 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557.
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก

ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.

ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล

ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร


การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่อง ศึกษาพฤติกรรมความมีวินัยใน ตนเอง มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการเรียน รายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของ นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยี
นางสาวอรุณรุ่ง สุวรรณโชติ
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
ชื่อผู้วิจัย นางปราณี แจ่มสาคร
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้ E-Book รายวิชาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ผู้จัดทำวิจัย นายนิธิ สุขประสงค์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

ปัญหาการวิจัย ในสถานศึกษาที่มีการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่างแพร่หลาย เพื่อส่งผลให้ผู้เรียนได้มีทักษะในการทำงานมากขึ้น โดยเฉพาะสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ซึ่งตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อที่จะนำความรู้และทักษะนี้ไปใช้ในการออกแบบผลงานต่อไป โดยทั่วไปการที่จะให้นักศึกษาสามารถเข้าใจในบทเรียนขึ้นอยู่กับสื่อการเรียนการสอนเป็นหลัก การนำสื่อ E-Book นี้มาใช้ในการเรียนการสอนจะทำให้ผู้สอน และผู้เรียนได้สื่อสารได้ตรงประเด็นมากขึ้นและนวัตกรรมจะช่วยให้การศึกษา การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม

วัตถุประสงค์ ผู้วิจัยเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้ E-Book รายวิชาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ซึ่งเป็นสื่อที่ใช้แนวคิดจากหนังสือเดิมที่พัฒนามาใหม่ โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักในการทำสื่อด้วย E-Book ทำให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิด เกิดความสนุกสนาน และทำให้รักในการอ่านหนังสือ ได้มากขึ้น คาดว่าจะส่งผลให้ผลการเรียนสูงขึ้นตามลำดับ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาสื่อการสอน และการพัฒนาการเรียนการสอน รายวิชาพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 2. เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษาเล็งความสำคัญในการอ่านมากยิ่งขึ้น 3. เพื่อศึกษาการทำโปรแกรม E-Book ให้เกิดความชำนาญ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนได้

ตาราง-ผังสรุป รายการ S.D ระดับ ด้านรูปแบบ E-Book 3.67 0.58 มาก 2. ความเข้าใจที่มีต่อการใช้ E-Book 4.48 0.51 3. ความแปลกใหม่ และความคิดสร้างสรรค์ของ E-Book 4.62 0.50 มากที่สุด 4. ความทันสมัยของ E-Book รวมด้านรูปแบบ E-Book 4.35 0.52 ด้านผู้สอน   5. ความเหมาะสมของเวลาที่ผู้สอนเลือกนำมาใช้ 4.29 0.46 6. ความชัดเจนในการอธิบายการใช้ E-Book ของผู้สอน 0.60 7. ความคุ้มค่าในการนำ E-Book มาใช้ของผู้สอน รวมด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน 8. ความรู้เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ ที่ได้จาก E-Book 4.67 0.48 9. ความสนุกสนาน ความน่าสนใจที่ได้จาก E-Book 4.57 0.68 10. ระดับคุณภาพของ E-Book ที่มีต่อการเรียน 4.33 รวมด้านผู้เรียน 4.52 0.54 ภาพรวม 88.00

สรุปผลวิจัย นักศึกษาเข้าใจแนวคิด เกิดความสนุกสนาน และทำให้รักในการอ่านหนังสือ ได้มากขึ้น คาดว่าจะส่งผลให้ผลการเรียนสูงขึ้นตามลำดับ นักศึกษาเล็งความสำคัญในการอ่านมากยิ่งขึ้น และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนได้ 1. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสร้างความคิดรวบยอดในเรื่องที่เรียนได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น 2. ช่วยให้ผู้เรียนมองเห็นสิ่งที่กำลังเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม 3. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. สร้างสภาพแวดล้อมและประสบการณ์การเรียนรู้ที่แปลกใหม่ 5. ส่งเสริมการมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้เรียน 6. เกื้อหนุนผู้เรียนที่มีความสนใจและความสามารถในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันให้สามารถ

ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย 1. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสร้างความคิดรวบยอดในเรื่องที่เรียนได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น 2. ช่วยให้ผู้เรียนมองเห็นสิ่งที่กำลังเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม 3. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. สร้างสภาพแวดล้อมและประสบการณ์การเรียนรู้ที่แปลกใหม่ 5. ส่งเสริมการมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้เรียน 6. เกื้อหนุนผู้เรียนที่มีความสนใจและความสามารถในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันให้สามารถ