ทฤษฎีการผลิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Lecture 8.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
การผลิตและต้นทุนการผลิต
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ระบบการผลิต ( Production System )
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
Computer Application in Customer Relationship Management
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
การวางผังของสถานประกอบการ
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
ต้นทุนการผลิต.
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีการผลิต

หน่วยผลิต คืออะไร ในอดีตการผลิตยังไม่ซับซ้อน ผู้ผลิตซึ่งเป็นผู้ผสมผสานปัจจัย การผลิตคือทุน แรงงาน ที่ดิน การประกอบการของตนเองให้เกิด เป็นผลผลิตโดยผู้ผลิตเองเป็นทั้งผู้ประกอบการ แรงงาน และเจ้าของ กิจการด้วย เช่น ช่างทองหรือช่างไม้ ปัจจุบันการผลิตซับซ้อนเปลี่ยน จากผู้ประกอบการเดี่ยวมาเป็นบริษัท ห้างร้าน อย่างไรก็ดีในทาง เศรษฐศาสตร์ เรียกว่า หน่วยผลิต

นิยามการผลิต การผลิต คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพของปัจจัยการผลิต (Input) ให้เป็นสินค้าและบริการ (output) ด้วยเทคโนโลยีที่กำหนด Input เป็นปัจจัยที่ใช้ในการผลิต มีที่ดิน แรงงาน ทุนผู้ประกอบการ Production process คือกระบวนการแปรสภาพเป็นขั้นตอนการผลิต Output คือ สินค้าและบริการ เป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากการแปรสภาพในขั้น ที่ 2

ฟังก์ชันการผลิต (Production Function) เป็นฟังก์ชันที่บอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณผลิตสูงสุดที่เป็นไปได้ การผสมผสานของปัจจัยการผลิตตางๆอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเทคโนโลยีที่ กำหนดให้ คือ ปัจจัยการผลิตที่ใช้ Q คือ ผลผลิต

การผลิตระยะสั้น (Short run) การผลิตในระยะสั้น คือ ช่วงระยะเวลาการผลิตที่ปัจจัยการผลิตอย่าง น้อยหนึ่งปัจจัย ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ขนาดโรงงาน จำนวน เครื่องจักร ปัจจัยการผลิตในระยะสั้น แบ่งได้ คือ ปัจจัยคงที่ (Fixed input) เป็นปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ในระยะสั้น ปัจจัยแปรผัน (Variable input) เป็นปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้

การผลิตระยะยาว (Long run) การผลิตในระยะยาว คือ ช่วงระยะการผลิตที่ยาวเพียงพอที่จะทำให้ทุก ปัจจัยกลายเป็นปัจจัยแปรผัน นั้นคือ มีระยะเวลายาวพอที่จะสามารถจัดปัจจัยทุกตัว ที่ต้องการมาทำการผลิต ความแตกต่างระหว่างการผลิตระยะสั้นกับระยะยาวนั้นอยู่ที่ผู้ผลิต สามารถปรับให้ปัจจัยทุกตัวเป็นปัจจัย แปรผันได้หรือไม่ถ้าทำได้ถือเป็นระยะยาวแต่ถ้ายังมีปัจจัยการผลิตอย่างน้อย 1 ตัว ยังเป็นปัจจัยคงที่อยู่ก็ถือว่าการผลิตนั้นเป็นระยะสั้น

การผลิตในระยะสั้น : ทฤษฎีผลผลิตเพิ่ม ให้ฟังก์ชั่นการผลิต คือ Q = f (K,L) K คือ ปัจจัยคงที่ L คือ ปัจจัยแปรผัน ผลผลิตรวม (Total product) หรือ TP ปริมาณผลผลิตทั้งหมดที่ผลิตได้ ผลผลิตเฉลี่ย (Average product) ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยต่อ หน่วยของปัจจัยแปรผัน ผลผลิตเพิ่ม (Marginal product) ปริมาณผลผลิตรวมที่ เปลี่ยนแปลงไปอันเกิดจากการเพิ่มหรือลดปัจจัยผันแปรอีก 1 หน่วย

กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม (Law of diminishing marginal product) กฎที่ระบุว่าถ้ามีการใช้ปัจจัยผันแปร 1 ตัว เพิ่มขึ้นเรื่อยๆโดยที่ปัจจัย อื่นๆคงที่ จะทำให้ผลผลิตส่วนเพิ่มของปัจจัยแปรผัน มีค่าลดลงในที่สุด

ช่วงการผลิต (Stages of production) ความสัมพันธ์ระหว่างเส้น และ แบ่งช่อง 3 ช่อง ช่องที่ 1 : ระดับการผลิตตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงจุดที่ AP มีค่าสูงสุด ช่องที่ 2 : ระดับการผลิตตั้งแต่จุดที่ AP มีค่าสูงสุดจนถึง MP มีค่าศูนย์ การแบ่งช่วงการผลิตเพื่อให้ทราบว่าช่วงการผลิตใดเป็นช่วงที่ควรทำการ ผลิต

การผลิตในระยะยาว (Long run) เพื่อให้เข้าใจง่ายสมมติปัจจัยการผลิตมี 2 ชนิด คือ ทุนและแรงงาน เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant)(IQ) คือ เส้นที่บอกส่วนผสมต่างๆที่ เป็นไปได้ระหว่างปัจจัยการผลิต 2 ชนิดที่ทำให้ผลผลิตรวมเท่ากัน เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost)(IS) คือ เส้นที่บอกถึงส่วนผสมของปัจจัย L และ K ที่ทำให้ต้นทุนรวมมีค่าคงที่

อัตราการทดแทนทางเทคนิคส่วนเพิ่ม (Marginal Rate of Technical Substitution) ความชันของเส้นผลผลิตเท่ากันเรียกว่าอัตราการทดแทนทางเทคนิค ส่วนเพิ่ม หรือ จะมีค่าเมื่อปัจจัยทุนและแรงงานสามารถทดแทนกันได้ คือเมื่อ เพิ่มการใช้ปัจจัย L ในการผลิต ก็จะต้องลดปัจจัย K ลงเพื่อให้ได้ผลผลิตเท่า เดิม แนวการขยายขนาดการผลิต (Expansion Path) คือแนวทางเดินของจุดดุลยภาพของส่วนผสมปัจจัยที่ใช้ต้นทุนต่ำสุด ผลได้ต่อขนาด (Returns to Scale) ผลตอบแทนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดมีผลได้ต่อ ขนาดคงที่ เพิ่มขึ้น ลดลง