การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Health Information System Development With Participation By Social Networking)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง เปิดโลกสังคมออนไลน์
ICT & LEARN.
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
( Crowdsourcing Health Information System Development )
Thesis รุ่น 1.
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เรื่อง เว็บไซต์ IPhone Society
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
เครือข่ายสังคมออนไลน์
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
06/11/56 บทที่ 1 ภาพรวมของ E- Commerce.
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
Social Network.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
ระบบประมวลผลการแข่งขันกีฬา : บาสเกตบอล
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
VISION MISSION STRATEGIC MAP. วิสัยทัศน์ (VISION) งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ เป็นศูนย์ สารสนเทศงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Hybrid.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ความก้าวหน้าเทคโนโลยีของไทย
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการรังวัดได้อย่างง่ายๆ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
การเขียนรายงานการวิจัย
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC
ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
อินเทอร์เน็ต.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ช่วยทำให้การ บริการสะดวกขึ้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
Social Network.
mun.go.th กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลนครพิษณุโลก.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
Social Media.
อินเทอร์เน็ต ( Internet )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Health Information System Development With Participation By Social Networking) ภาณุมาศ นนทพันธ์

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โลกกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ ข้อมูล รัฐธรรมนูญกับความสำคัญต่อกระบวนการมีส่วนร่วม การลงทุนของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในด้าน ระบบข้อมูลสุขภาพมีสูงทั้งเงินและ ความหลากหลายของระบบ ค่าใข้จ่ายทางด้านสุขภาพของภาครัฐและประชาชน สามารถลด ได้ด้วยการจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพ กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพของหลายองค์กรทั้ง ภาครัฐ กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพภาคประชาชน ความสำคัญของ Social Networking เครือข่ายสังคมออนไลน์ กับการพัฒนาข้อมูลร่วมกัน

คำถามวิจัย 1. การมีส่วนร่วมมีผลต่อการดำเนินงานระบบข้อมูล สุขภาพหรือไม่ 2. รูปแบบการมีส่วนร่วมที่ต่อผลการดำเนินงานระบบ ข้อมูลสุขภาพเป็นอย่างไร

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมต่อผลการดำเนิน งานระบบสุขภาพ 2. เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบระบบงานข้อมูล สุขภาพ 3. เพื่อพัฒนารูปแบบระบบงานข้อมูลสุขภาพโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคมออนไลน์

สมมติฐานการวิจัย 1. การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีผลต่อการ ดำเนินงานระบบข้อมูลสุขภาพ 2. รูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียมีผลต่อ การดำเนินงานระบบข้อมูลสุขภาพ

ขอบเขตการวิจัย กลุ่มประชากรที่ศึกษาคือคนทำงานด้านสุขภาพที่ ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ท

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ระบบการจัดการข้อมูลสุขภาพที่ทำงานบนเว็บ ไซท์ 2. ได้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนทำงานเกี่ยวกับ ข้อมูลสุขภาพ

นิยามศัพท์ ระบบข้อมูลสุขภาพ คือ ข้อมูลแสดงรายละเอียด ของ ระบบการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลการสำรวจสุขภาพ, ข้อมูลทะเบียนสถิติ ชีพ, ข้อมูลการเฝ้าระวังโรคและการบาดเจ็บ, ข้อมูล ทะเบียนโรค, ข้อมูลบริการสุขภาพจากสถานพยาบาล และข้อมูลอื่นๆ

นิยามศัพท์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) คือ การที่มนุษย์สามารถเชื่อมโยงถึงกัน ทำความรู้จัก กัน สื่อสารถึงกันได้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตใน รูปแบบการให้บริการผ่านเว็บไซท์ที่เชื่อมโยง ระหว่างบุคคลต่อบุคคลไปจนถึงบุคคลกับกลุ่ม บุคคล โดยมีพื้นที่ให้ผู้คนเข้ามารู้จักกัน มีเครื่องมือ ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการสร้าง เครือข่าย สร้างเนื้อหาตามความสนใจ สามารถ แบ่งปันข้อมูล เชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับคนใน เครือข่ายด้วยวิธีต่าง ๆ

ทบทวนวรรณกรรม 1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับข้อมูลและการจัดการ ข้อมูล 2. ข้อมูลสุขภาพและระบบข้อมูลสุขภาพ 3. การจัดการข้อมูลสุขภาพ 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ 5. ระบบงานข้อมูลสุขภาพในปัจจุบัน 6. กระบวนการมีส่วนร่วม 7.Social Networking

วิธีดำเนินการวิจัย 1. สำรวจแนวทางและความต้องในการในการใช้งาน ระบบข้อมูลสุขภาพ 2. ศึกษาแนวทางการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมใน การดำเนินงานระบบข้อมูลสุขภาพ 3. พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ 4. ทดสอบและทดลองใช้งาน 5. ประเมินผล

สวัสดี