บทที่ 2 มาตรฐานเงินตรา SIRIPORN SOMKHUMPA
เงินตราเป็นสิ่งที่แต่ละประเทศต้องผลิตเงินตราให้เพียงพอต่อปริมาณความต้องการใช้จ่าย โดยเฉพาะในปัจจุบันที่มีระบบการค้าแบบเสรีทำให้ทั่วโลกสามารถติดต่อค้าขายกันได้อย่างง่ายดายจึงมีผลทำให้ความต้องการใช้เงินตรามีมากขึ้นจากในอดีต นอกจากปริมาณที่ต้องผลิตเงินตราให้เพียงพอต่อความต้องการใช้แล้วความมีหลายรูปแบบ มีหลากหลายหน่วยย่อย เพื่อความสะดวกต่อการใช้สอย SIRIPORN SOMKHUMPA
ในอดีตมีเงินที่ผลิตออกใช้เป็นเงินมาตรฐาน (Standard Money) เพื่อใช่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนและชำระหนี้ที่ทำจากโลหะมีค่า เช่น พวกโลหะทองคำ โลหะเงิน ฯลฯ ในระยะต่อมาเมื่อสภาพการทางเศรษฐกิจ เปลี่ยน แปลงไป เงินตราที่ออกใช้จึงได้เปลี่ยนรูปไปเป็นเงินที่มีค่าไม่เต็มตัว (Token Coin) เช่น เหรียญกษาปณ์ รวมทั่งมีการใช้เงินกระดาษ คือธนบัตร SIRIPORN SOMKHUMPA
ประวัติเงินตราและมาตรฐานเงินตราไทย 1. เงินตราของไทยในแต่ละยุกต์ 1.1 เงินตราสุวรรณภูมิ 1.2 เงินตราพนม (ฟูนัน) 1.3 เงินตราทวารวดี 1.4 เงินล้านนา 1.5 เงินตราล้านช้าง 2 ประวัติการผลิตเงินตราไทย 3 เงินตราบนเส้นทางการค้าสมัยโบราณ SIRIPORN SOMKHUMPA
มาตรฐานเงินตรา มาตรฐานเงินตรา (Monetary Standard) หมายถึงการกำหนดมูลค่าของเงินหรือหลักแห่งมูลค่าของเงิน โดยให้เกี่ยวพันกับสิ่งที่ใช้เป็นมาตรฐาน และกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการในการออกเงินตราไว้โดยเรียบร้อย เช่น ประเทศที่อยู่ในมาตราเหรียญทองคำก็ใช่โลหะทองคำเป็นมาตรฐาน หรือเป็นหลักแห่งมูลค่าของเงิน เช่น กำหนดค่าเงินหนึ่งหน่วยจะต้องทำด้วยโลหะทองคำหนักเท่าใด และคิดเป็นมูลค่าเท่าใด นอกจากนั้นอาจมีวิธีการอื่น ๆ อีก เช่น กำหนดให้มีวิธีการทำเหรียญทองคำหรือยุบเหรียญทองคำเป็นเนื้อโลหะได้โดยไม่จำกัดจำนวน หรือกำหนอให้มีการนำเข้า หรือส่งออกทองคำระหว่างประเทศโดยเสรี เป็นต้น SIRIPORN SOMKHUMPA
มาตรฐานเงินตราแบบต่าง ๆ มาตราโลหะเดี่ยว (Mono-metallic Standard) มาตราทองคำ (Gold Standard) มาตราเหรียญทองคำ (Gold Coin Standard) มาตราทองคำแท่ง (Gold Bullion Standard) มาตราปริวรรตทองคำ (Gold Exchange Standard) มาตราโลหะเงิน (Silver Standard) SIRIPORN SOMKHUMPA
ประโยชน์ของมาตราทองคำ 1. ความมีเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยน 2. ความมั่นใจของประชาชนที่มีต่อระบบเงินตราของประเทศ 3. เศรษฐกิจของประเทศจะปรับเข้าสู่ดุลยภาพโดยอัตโนมัติ 4. ความสะดวกในการค้า และการชำระหนี้ระหว่างประเทศ SIRIPORN SOMKHUMPA
ข้อเสียของมาตราทองคำ 1. การใช้มาตราทองคำไม่เหมาะกับประเทศที่ขาดแคลนทองคำ 2. เป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 3. การใช้มาตราทองคำไม่เหมาะสมสำหรับสภาพการณ์ที่ไม่ปกติ 4. เป็นอุปสรรคต่อการกำหนดนโยบายการเงิน และเศรษฐกิจของประเทศ SIRIPORN SOMKHUMPA
มาตราโลหะ หรือมาตรฐานเงินตราที่อิงโลหะ (Metallic Standard) มาตราโลหะคู่ (Bi-metallic Standard) : มาตราโลหะคู่ คือมาตราที่ใช้โลหะสองชนิดเป็นหลักในการเทียบมูลค่า เช่น ใช้โลหะทองคำ และโลหะเงิน ฯลฯ ลักษณะทั่วไปของมาตราโลหะคู่พอบทสรุปได้ดังนี้ กำหนดอัตราส่วนน้ำหนักของโลหะสองชนิดให้แน่นอน อนุญาตให้ผลิตเหรียญตามน้ำหนักที่กำหนดและเหรียญที่กำหนด 3. อนุญาตให้มีการยุบ หรือหลอมเหรียญทองคำ และเหรียญเงินได้โดยเสรี 4. อนุญาตให้โลหะทองคำ และโลหะเงินนำเข้า และส่งออกนอกประเทศ 5. อนุญาตให้นำเงินชนิดอื่น ๆ มาแลกเหรียญทองคำ และเหรียญเงินได้โดยเสรี SIRIPORN SOMKHUMPA
บทสรุป เงินตราที่ถูกผลิตในประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ทางรัฐได้ผลิตเงินตราให้เพียงพอต่อปริมาณความต้องการใช้จ่ายของประชาชนและคู่ค้า โดยเฉพาะในปัจจุบันที่มีระบบการค้าแบบเสรีทำให้ทั่วโลกสามารถติดต่อค้าขายกันได้อย่างง่ายดายจึงมีผลทำให้ความต้องการใช้เงินตรามีมากขึ้นจากในอดีต นอกจากปริมาณที่ต้องผลิตเงินตราให้เพียงพอต่อความต้องการใช้แล้วความมีหลายรูปแบบ มีหลากหลายหน่วยย่อย เพื่อความสะดวกต่อการใช้สอย SIRIPORN SOMKHUMPA