เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542 ๑๐ เม.ย. ๖๐ เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542 การประกันคุณภาพการศึกษา: โดย รศ.เทียมจันทร์ พานิชผลินไชย การประกันคุณภาพการศึกษา:ตามเจตนารมณ์ พรบ.การศึกษา๒๕๔๒
โครงสร้างและการบริหารจัดการ หลักสูตร และการเรียนรู้ เก่ง ดี เป็นสุข : ผู้เรียน ทรัพยากร ประกันคุณภาพ สื่อและเทคโนโลยี พัฒนาครู
การบริหารคุณภาพ (TQM) เน้นที่ผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกองค์กร มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารผูกพันและอุทิศเพื่อคุณภาพ
๑๐ เม.ย. ๖๐ เจตนารมณ์ของ หมวด 6 1.การประกันคุณภาพ เป็นเครื่องมือของการบริหาร และการกระจายอำนาจ 2.มาตรฐานการศึกษา ต้องสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพ.ร.บ. 3.การกำหนดมาตรฐานและหลักเกณฑ์ของระบบประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของหน่วยงานระดับประเทศ การประกันคุณภาพการศึกษา:ตามเจตนารมณ์ พรบ.การศึกษา๒๕๔๒
4. การประกันคุณภาพภายใน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษา โดยความร่วมมือจากชุมชนและสนับสนุนจากต้นสังกัด 5. การประกันคุณภาพภายนอกเป็นหน้าที่ขององค์กรอิสระ 6. การนำผลประเมินไปใช้ปรับปรุงการบริหารเป็นหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา
ระบบประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) : การตรวจติดตามคุณภาพ (Quality Auditing) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) 3.1 ภายใน 3.2 ภายนอก
กระบวนการปรับปรุงคุณภาพ การพัฒนาคุณภาพ (QC) การประกันคุณภาพ (QA) การประเมินคุณภาพ ภายใน ภายนอก การตรวจติดตามคุณภาพ (QAu) กระบวนการปรับปรุงคุณภาพ กระบวนการ พัฒนาคุณภาพ ตรวจสอบคุณภาพ
ให้มีระบบการประกันคุณภาพ เพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษา มาตรา 47 คุณภาพภายใน การประกัน คุณภาพภายนอก QC+QAU+IQA EQA
Plan Act Do Check ร่วมกันวางแผน การควบคุมคุณภาพ ร่วมกันปรับปรุง ร่วมกันปฏิบัติ การตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ Check ร่วมกันตรวจสอบ และประเมิน
มาตรา 48 หน่วยงานที่กำกับดูแล & สถานศึกษา มาตรา 48 หน่วยงานที่กำกับดูแล & สถานศึกษา ประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน ผสมผสาน กับการปฏิรูปการเรียนรู้ การสอน การพัฒนาบุคลากรและSBM ต่อเนื่อง ประเมินเพื่อพัฒนาตามวงจรของการทำงาน เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การประกันคุณภาพภายใน ผสมผสาน ต่อเนื่อง ประเมินเพื่อพัฒนา เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ไม่ผสมผสาน ไม่ต่อเนื่อง ประเมินเพื่อประเมิน เน้นเอกสารและการ กรอกแบบสอบถาม
มาตรา 48 สถานศึกษาทุกแห่ง มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน จัดทำรายงานการประเมินตนเองเป็นรายงาน ประจำปีเสนอต้นสังกัด หน่วยงานเกี่ยวข้อง และสาธารณชนทุกปี นำไปสู้การพัฒนาคุณภาพ & พร้อมรับ การประเมินภายนอก
มาตรา 49 การประเมินคุณภาพภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.องค์การมหาชน) รับผิดชอบ ให้สถานศึกษารับการประเมินภายนอก อย่างน้อย 1 ครั้งทุก 5 ปี
สถานศึกษาทุกแห่งให้ความร่วมมือ สมศ. เตรียมรายงานการประเมินตนเอง มาตรา 50 สถานศึกษาทุกแห่งให้ความร่วมมือ สมศ. เตรียมรายงานการประเมินตนเอง หลักฐานและให้ข้อมูล
มาตรา 51 สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
การประเมิน ตนเอง
ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก การปฏิบัติ งานของสถานศึกษา การประเมินตนเองของสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง การตรวจเยี่ยม รายงานผลการประเมิน การติดตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ
สวัสดี