ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ( ส 33101 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจพอเพียง ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ยกตัวอย่างแนวทางปฏิบัติในการ ดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
4 ธันวาคม 2540 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชฯ ได้พระราชทานกระแส พระราชดำรัส เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่
ปัญหาเรื่องหนี้สินและความยากจน - ไม่สามารถจัดการกับหนี้สิน ที่มีอยู่ - ประชากรไม่สามารถพึ่งตนเองได้
ความเป็นอยู่ ความคิด ความพอเพียง จิตใจ
พอประมาณ มีเหตุผล ความพอเพียง มีระบบภูมิคุ้มกัน
เศรษฐกิจพอเพียง สร้างพื้นฐาน จิตใจคนในชาติ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต พื้นฐานจิตใจ รอบรู้
ดำเนินชีวิต ความ รอบคอบ อดทน มีความเพียร มีสติปัญญา
ลองทำดู ความพอประมาณหมายถึง ความมีเหตุผลหมายถึง การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวหมายถึง
งานเป็นที่พึ่งแห่งตน หลักการ งานเป็นที่พึ่งแห่งตน การรวมกลุ่ม ของชาวบ้าน - มีเมตตา - เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ - ความสามัคคี
งานเป็นที่พึ่งแห่งตน - มีจิตสำนึกดี - ช่วยเหลือกัน - จัดการทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ
- นำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ - ปรับตัวเข้ากับภาวะเศรษฐกิจ - ก้าวทันโลกยุคโลกาภิวัฒน์
ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล ปรัชญา เสริมสร้าง คุณภาพคน ทางสายกลาง ความสมดุล และยั่งยืน ภูมิคุ้มกันและ รู้เท่าทันโลก ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล
ไม่แก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกัน การประยุกต์ใช้ ประหยัด ไม่กระทำชั่ว ประกอบอาชีพ สุจริต หารายได้เพิ่ม ไม่แก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกัน
การดำเนินงาน เกษตรแบบ ใช้โรงเรียนเป็น โครงการทฤษฎีใหม่ แหล่งการเรียนรู้
การเข้าร่วมกิจกรรม การจัด กิจกรรม กลุ่มสนใจ กลุ่มประสบการณ์ - การเกษตร - ประสบการณ์ ชีวิต
ระบบสหกรณ์ องค์การของกลุ่มบุคคลที่รวมกัน โดยสมัครใจ เพื่อดำเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ภายใต้หลักประชาธิปไตย
ลักษณะของสหกรณ์ มีผลประ- โยชน์ร่วมกัน ไม่แสวงหา กำไร สมาชิกเป็นเจ้าของ
หลักการของสหกรณ์ 1. เป็นสมาชิกโดยสมัครใจ 2. ควบคุมตามหลักประชาธิปไตย 3. สมาชิกมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ 4. ปกครองตนเองและเป็นอิสระ
5. ให้การศึกษา ฝึกอบรมและ สารสนเทศ 6. ร่วมมือระหว่างสหกรณ์ 7. เอื้ออาทรต่อชุมชน