ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สถานการณ์การเงินการคลัง
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
โดยตัวชี้วัด FAI ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังระดับเขต/จังหวัด
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สรุปผลงาน คณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง(CFO) เขตบริการสุขภาพที่ 10
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การส่งต่อนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ ห้องประชุมไทรงาม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13.30 น.

CHIEF FINANCIAL OFFICER : CFO การทบทวนคำสึ่ง CHIEF FINANCIAL OFFICER : CFO - คำสั่งที่ 18/2557, 19/2557 ลงวันที่ 21 กพ.2557 - ร่างคำสั่ง มอบหมายหน้าที่ CHIEF OFFICER จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ 2558 (พัฒน์ยุทธ์)

เรื่องเพื่อทราบ 2.1.ผลการตรวจราชการ ปีงบประมาณ 2558 รอบ 1 คณะ 3

พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ

การบริหารการเงินการคลัง การแก้ปัญหาและ ป้องกันการขาดสภาพคล่องทางการเงิน ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ ไม่เกินร้อยละ 10 (รพศ./รพท./รพช.) การควบคุมต้นทุนให้เหมาะสม “หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ ในระดับผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน รวมทุกสิทธิ ต่อหน่วยน้ำหนัก” ไม่เกินร้อยละ 20

1. การแก้ปัญหาและป้องกันการขาดสภาพคล่อง ทางการเงิน 1. การแก้ปัญหาและป้องกันการขาดสภาพคล่อง ทางการเงิน ผลลัพธ์ ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ การจัดสรรงบค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ การพัฒนา ควบคุมกำกับให้หน่วยบริการมีการบริหารการเงินการคลัง จนไม่ประสบปัญหาทางการเงิน เป้าหมาย รพศ. รพท. และ รพช. ทุกแห่ง มาตรการดำเนินงาน หน่วยบริการจะต้องมีแผนการดำเนินงานเพื่อปรับ ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน พัฒนาข้อมูลบัญชีให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ การตรวจ ติดตาม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ปัญหาการเงินของ รพ. มีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ (ผ่านจังหวัด ,เขตอนุมัติ) มีการพัฒนาบัญชีผ่านเกณฑ์คุณภาพ มีการรายงานการเงินและตัวชี้วัดให้ผู้บริหารทราบทุกเดือน มีการประเมินคุณภาพการบริหารการเงินการคลังโดยใช้เกณฑ์ประเมิน FAI (AC , FC , IC , UC)

ตัวชี้วัดทางการเงิน ( 7 ระดับ) 1 Current Ratio < 1.5 1 คะแนน 2 Quick Ratio < 1.0 3 Cash Ratio < 0.8 4 ทุนสำรองสุทธิติดลบ 5 ผลการดำเนินงาน (ขาดทุน) 6 ระยะเวลาทุนสำรองสุทธิ เพียงพอใช้จ่าย (เท่ากับทุนสำ รองสุทธิ หารด้วย กำไร/ขาดทุน เฉลี่ยต่อเดือน) < 3 เดือน 2 คะแนน < 6เดือน

เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2557 ไม่มีหน่วยบริการที่วิกฤตทางการเงินระดับ 7 เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2557 ไม่มีหน่วยบริการที่วิกฤตทางการเงินระดับ 7 วิกฤตทางการเงิน ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปกติ 7 13 ระดับ 1 3 2 4 ระดับ 2 1 ระดับ 3 3(บางบาล, มหาราช, บ้านแพรก) 2(ลาดบัวหลวง/ บ้านแพรก) ระดับ 4 1(ลาดบัวหลวง) 1(มหาราช) ระดับ 5 ระดับ 6 1(บางบาล)

2. การควบคุมต้นทุนให้เหมาะสม ผลลัพธ์ หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการในระดับผู้ป่วยนอก (OPD) และผู้ป่วยใน (IPD) รวมทุกสิทธิ (total cost) ต่อหน่วยน้ำหนัก เป้าหมาย รพศ. รพท. และ รพช. ทุกแห่ง มาตรการ ส่งข้อมูลบริการService data ครบถ้วน ทันเวลา ทุกเดือน การจัดการระบบบริการเพื่อให้มีต้นทุนบริการลดลง การควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในหมวดต่างๆ ได้แก่ Labor cost ,Material cost, Capital cost,Operating cost การตรวจ ติดตาม มีผู้รับผิดชอบการตรวจสอบข้อมูลบริการ Service Data สำหรับทำ Unit Cost แบบ Quick Method มีการรายงานต้นทุน Unit Cost แบบ Quick method ให้ผู้บริหารได้รับทราบทุกเดือน มีต้นทุน OPD , IPD ไม่สูงกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส ได้นำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการพัฒนาระบบบริการ

ต้นทุนต่อหน่วยบริการ ไตรมาสที่ 4 / 2557 เกินเกณฑ์เฉลี่ย จำนวน 5 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 31 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 20) โรงพยาบาล Unit Cost RW 1. พระนครศรีอยุธยา,รพศ. 14,705.28 2. เสนา,รพท. 21,286.80 3. สมเด็จพระสังฆราช (60 เตียง) 29,841.45 4. บางไทร (30 เตียง) 23,963.15 5. บางซ้าย (10 เตียง) 21,774.08

ข้อมูลบัญชีผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 12 รพ. บางปะหัน (แม่ข่าย/ลูกข่าย นักบัญชีลาออก) รพ. บางซ้าย (แม่ข่าย/ลูกข่าย ความเข้าใจ) กระบวนการพัฒนา 1.จัดทีมพี่เลี้ยงลงตรวจแนะนำ 2. จัดอบรม 3.ประชุมสรุปผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการดำเนินการตามแผนการเงิน ปี 2557 ประเภท จำนวน (แห่ง) ร้อยละ ระดับดี รับ และ จ่าย 1 6 ระดับปานกลาง รับ หรือ จ่าย อย่างใดอย่างหนึ่ง) 10 62 ปรับปรุง ไม่ รับ และ จ่าย 5 32 เกณฑ์การพิจารณาเพิ่มเติม คือ ความคลาดเคลื่อนของแผนจากเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ เช่น รายรับ > 40 % (การตั้งแผนจากข้อมูลบัญชี และการรับ จ่ายจริงในปีที่ผ่านมา)

มีการจัดทำพร้อมส่งให้ สป.แล้ว ทั้ง 16 แห่ง แผนการเงิน ปี 2558 มีการจัดทำพร้อมส่งให้ สป.แล้ว ทั้ง 16 แห่ง ข้อสังเกต : ส่วนต่าง รับ-จ่าย ทุกแห่งมีการตั้งที่เกินดุล หรือติดลบน้อยลงเมื่อเทียบกับข้อมูลของ สป. ยกเว้น โรงพยาบาล กลุ่มประกันสุขภาพ สป. หน่วยบริการ รพ. สมเด็จพระสังฆราช - 661,489.69 - 7,251,306.75 รพ. มหาราช 899,868.82 - 8,606,967.17

จัดกลุ่มตามประเด็นที่สำคัญในการดำเนินงาน 1.คุณภาพบัญชีผ่านเกณฑ์ 2.ไม่มีวิกฤติการเงิน 3.ผลลัพธ์แผนอยู่ในระดับดี 4.ต้นทุนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ผ่านทุกหัวข้อ ไม่มี - ผ่าน 3 หัวข้อ 3 แห่ง 19 % ผ่าน 2 หัวข้อ 10 แห่ง 62 % ผ่าน 1 หัวข้อ ไม่ผ่านเลย

จุดแข็ง การบริหารจัดการด้านการเงิน 1.การให้ความสำคัญด้านการบริหารการเงินทั้งในระดับจังหวัด และอำเภอ นโยบายผู้บริหาร มีความชัดเจน มีการจัดโครงสร้าง คณะทำงาน และการมอบหมายผู้รับผิดชอบหลัก 2. ผู้รับผิดชอบงานมีความตั้งใจ และมีแนวทางกระบวนการในการพัฒนางาน / มีหลักสูตรในการพัฒนาบุคลากรในส่วนขาด เช่น การบริหารการเงิน นักบัญชี CFO 3.การวางจุดร่วมโดยใช้แผนเพื่อการขับเคลื่อนระบบงาน 4.การกำกับติดตามงาน

ข้อเสนอส่วนกลาง 1. การส่งกลับข้อมูลให้กับจังหวัดเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ข้อมูลวิเคราะห์เปรียบเทียบด้านต้นทุนระดับประเทศ (รายไตรมาส)

ข้อสังเกตเพื่อการพัฒนา 1. การทบทวนและปรับแผนการเงิน (ทุกหน่วยงานต้องให้ความสำคัญในการจัดทำและใช้แผนเพื่อการปรับประสิทธิภาพ) 2. การพัฒนาต่อเนื่องเชื่อมโยงข้อมูลต้นทุน ไปสู่การปรับปรุงระบบงานให้เกิดประสิทธิภาพ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีแผนการพัฒนาต่อเนื่องการวิเคราะห์ต้นทุน การนำข้อมูลต้นทุนเพื่อจัดแผนการเงินต้นทุนกิจกรรมที่เหมาะสม)

กระบวนงานการเงินการคลัง เรื่องพิจารณา 3.1. นำเสนอ flow กระบวนงาน 1.ประชุม cfo 2.ติดตามหน่วยบริการ 3.Planfin 4.ทำแผนปรับประสิทธิภาพ 5.นำเสนอ กวป. วิกฤต 7 ระดับ กระบวนงานการเงินการคลัง คุณภาพ บ/ช IC Quick Method รายเดือน

เรื่องพิจารณา 3.2. หารือประเด็น 3.2.1 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร การเงินการคลังหน่วยบริการสุขภาพ

เรื่องอื่นๆ …