วทน. กับสังคม เรียนรู้ วิจารณ์ พานิช มูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ สังคม ( สคส.) นำเสนอใน การประชุมสมัชชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 9 วันที่ 10 ม. ค. 2554
สังคมเรียนรู้ หมายความว่า มีการ สร้างและใช้ ค. ในทุก ภาคส่วนของสังคม ใน สัมมาชีพและชีวิตประจำวัน มีการสร้างนวัตกรรม รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีกระบวนการเรียนรู้ในอาชีพ และชีวิต บำรุงสุข ด้วยบริการ Learning Facilitation
สังคมเรียนรู้ กับ วทน. มีการ สร้างและใช้ วทน. ใน ทุกภาคส่วนของสังคม ใน สัมมาชีพและชีวิตประจำวัน ชาวบ้านเป็น “ นัก วทน. ” มีบริการ STI Facilitation แก่ผู้คน ทุกภาคส่วน
ชาวบ้านนัก วทน. ทำอะไร สร้างและใช้ ค. ในสัมมาชีพ รวมตัวกันเรียนรู้แบบ PBL ใน อาชีพ อาจเรียกว่า CoP เรื่อง... การทำ นา การทำสวนยาง การทำไร่ สัปปะรด การประกอบอาชีพ ช่างตัดผม การประกอบอาชีพ ขับแท็กซี่ การต่อสู้ โรคเบาหวาน คือรวมกลุ่ม KM นั่นเอง
วทน. ในวิถี ชาวบ้าน ไม่แยกส่วนออกจาก ค. ด้าน อื่นๆ บูรณาการอยู่ในสัมมาชีพ และ วิถีชีวิต เรียนรู้ ค. แจ้งชัด / ทฤษฎี จาก การดูงาน เอกสารคู่มือ ตำรา สร้าง ค. ฝังลึก โดยการตีความ ทดลอง ยกระดับ ค. โดยกระบวนการ ลปรร.
รัฐ / อปท. ควรจัด อะไรให้ “ คุณอำนวย ” / Learning Facilitator จัดกลุ่ม ตั้งเป้า วางเงื่อนไข นัด ลปรร. สม่ำเสมอ พาไปดูงาน จัดคู่มือ เอกสาร ค. หาคนมาจุดประกาย กระตุ้นการ ลปรร. เชียร์ ชี้ ชม ช่วย สร้างความมั่นใจ
รัฐ / อปท. ควรจัด อะไรให้ นักวิชาการรับใช้สังคมไทย มาช่วยใช้ ค. ทฤษฎี ตีความ ความสำเร็จ / ล้มเหลว มาต่อยอด ค. ที่ชาวบ้านสร้าง และใช้งานได้ดี ให้ชาวบ้าน ยกระดับ ค. ปฏิบัติ ขึ้นไปอีก เป็นส่วนหนึ่งของการ “ หมุน เกลียว ค. ” ขึ้นไป สร้างผลงานวิชาการรับใช้ สังคมไทย
นี่คือ วิถี “ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ” ที่ แท้จริง กลไกสร้างสังคมที่มีความ เป็นธรรม equity กลไกปลุก “ มิติของความเป็น มนุษย์ ”