งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research
กลุ่ม 3 มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research

2 แบบฟอร์มที่ 1 วิสัยทัศน์ 2560 และการกำหนดคำนิยาม
แบบฟอร์มที่ 1 วิสัยทัศน์ 2560 และการกำหนดคำนิยาม วิสัยทัศน์ 2560 (VISION ) คำนิยาม (Definition) “อุทยานการศึกษาแห่งอาเซียน” แหล่งเรียนรู้ ค้นคว้า ชื่นชม นวัตกรรมอย่างไร้พรมแดนของประชาคมอาเซียน

3 แบบฟอร์มที่ 2 จุดยืนทางยุทธศาสตร์ 2555-2559 และการกำหนดคำนิยาม
แบบฟอร์มที่ 2 จุดยืนทางยุทธศาสตร์ และการกำหนดคำนิยาม จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Strategic Position ) คำนิยาม (Definition) “อุทยานการศึกษา แห่งการสร้างโอกาส” เครือข่ายทางปัญญาเพื่อสร้างโอกาสในการยกระดับคุณภาพชีวิตแก่สังคมทุกระดับ

4 แบบฟอร์มที่ 3 นโยบายเชิงยุทธศาสตร์และการกำหนดคำนิยาม
แบบฟอร์มที่ 3 นโยบายเชิงยุทธศาสตร์และการกำหนดคำนิยาม นโยบายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Policy ) คำนิยาม (Definition) สังคมเข้มแข็ง สังคมที่มีการเรียนรู้และมีภูมิปัญญาที่ปรับตัวก้าวล้ำการเปลี่ยนแปลง

5 แบบฟอร์มที่ 4 ยุทธศาสตร์และการกำหนดความหมาย
แบบฟอร์มที่ 4 ยุทธศาสตร์และการกำหนดความหมาย ยุทธศาสตร์ (Strategy) พ.ศ ความหมายของยุทธศาสตร์ 5. มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research การวิจัยที่ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง อยู่บนฐานความรู้จากการวิจัย โดยโจทย์วิจัยมาจากความต้องการของท้องถิ่น

6 ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs)
ยุทธศาสตร์ (Strategy) ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs) ระดับยุทธศาสตร์ ระดับมาตรการ ค่าเป้าหมาย (ระดับมาตรการ) ณ สิ้นสุดแผน 2559 5. มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research 1.จำนวนโครงการวิจัยเชิง พื้นที่ (40 โครงการ) 1.มีระบบและกลไกที่ส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ของบุคลากร (2 ระบบ) 2 ระบบ 2.จำนวนเงินงบประมาณ (20 ล้านบาท) 2.มีระบบรางวัลและยกย่องเชิดชูเกียรติผลงานวิจัยเชิงพื้นที่ (2 ระบบ)

7 ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs)
ยุทธศาสตร์ (Strategy) ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs) ระดับยุทธศาสตร์ ระดับมาตรการ ค่าเป้าหมาย (ระดับมาตรการ) ณ สิ้นสุดแผน 2559 5. มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research 3.จำนวนภาคีเครือข่ายงานวิจัยเชิงพื้นที่ (20 เครือข่าย) 3.มีระบบและกลไกกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่ให้คุณค่างานวิจัยเชิงพื้นที่ (2 ระบบ) 2 ระบบ 4.จำนวนผลงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ที่ผ่านการรับรอง การใช้ประโยชน์จาก หน่วยงาน/ชุมชน (80 โครงการ) 4.มีแผนงานกำหนดงานวิจัยเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมรวมถึงชุมชนท้องถิ่น (2 แผน) 2 แผน

8 ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs)
ยุทธศาสตร์ (Strategy) ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs) ระดับยุทธศาสตร์ ระดับมาตรการ ค่าเป้าหมาย (ระดับมาตรการ) ณ สิ้นสุดแผน 2559 5. มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research 5.จำนวนนักวิจัยเชิงพื้นที่ (60 คน) 6.จำนวนกิจกรรมที่ต่อยอดและการจัดการความรู้ (50 โครงการ)

9 ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs)
ยุทธศาสตร์ (Strategy) ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs) ระดับยุทธศาสตร์ ระดับมาตรการ ค่าเป้าหมาย (ระดับมาตรการ) ณ สิ้นสุดแผน 2559 5. มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research 1.จำนวนโครงการวิจัยเชิง พื้นที่ (40 โครงการ) 1.มีระบบและกลไกที่ส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ของบุคลากร (2 ระบบ) 2 ระบบ 2.จำนวนเงินงบประมาณ (20 ล้านบาท) 2.มีระบบรางวัลและยกย่องเชิดชูเกียรติผลงานวิจัยเชิงพื้นที่ (2 ระบบ)

10 ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs)
ยุทธศาสตร์ (Strategy) ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs) ระดับยุทธศาสตร์ ระดับมาตรการ ค่าเป้าหมาย (ระดับมาตรการ) ณ สิ้นสุดแผน 2559 5. มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research 3.จำนวนภาคีเครือข่ายงานวิจัยเชิงพื้นที่ (20 เครือข่าย) 3.มีระบบและกลไกกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่ให้คุณค่างานวิจัยเชิงพื้นที่ (2 ระบบ) 2 ระบบ 4.จำนวนผลงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ที่ผ่านการรับรอง การใช้ประโยชน์จาก หน่วยงาน/ชุมชน (80 โครงการ) 4.มีแผนงานกำหนดงานวิจัยเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมรวมถึงชุมชนท้องถิ่น (2 แผน) 2 แผน

11 ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs)
แบบฟอร์มที่ 7 การกำหนดมาตรการและโครงการ/กิจกรรม (1) ยุทธศาสตร์ : มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs) ระดับมาตรการ มาตรการหรือ แนวทางการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรม หน่วยงาน รับผิดชอบ 2 ระบบ 1.มีระบบและกลไกที่ส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ของบุคลากร 1.โครงการพัฒนาระบบและกลไกที่ส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ของบุคลากร สถาบันวิจัยและสำนักวิชา 2.มีระบบรางวัลและยกย่องเชิดชูเกียรติผลงานวิจัยเชิงพื้นที่ 2.โครงการยกย่องเชิดชูเกียรติผลงานการวิจัยผลงานวิจัยเชิงพื้นที่ สถาบันวิจัยและหน่วยพัฒนาองค์กร

12 ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs)
แบบฟอร์มที่ 7 การกำหนดมาตรการและโครงการ/กิจกรรม (2) ยุทธศาสตร์ : มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research ตัวชี้วัดความสำเร็จ(KPIs) ระดับมาตรการ มาตรการหรือ แนวทางการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรม หน่วยงาน รับผิดชอบ 2 ระบบ 3.มีระบบและกลไกกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่ให้คุณค่างานวิจัยเชิงพื้นที่ 3.โครงการปรับปรุงเกณฑ์และกลไกการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่ให้คุณค่างานวิจัยเชิงพื้นที่ การเจ้าหน้าที่และสำนักวิชา 2 แผน 4.มีแผนงานกำหนดงานวิจัยเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมรวมถึงชุมชนท้องถิ่น 4.โครงการจัดทำแผนงานกำหนดงานวิจัยเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมรวมถึงชุมชนท้องถิ่น ส่วนแผนงานฯ สถาบันวิจัย และสำนักวิชา

13 Thank You WU


ดาวน์โหลด ppt มุ่งการวิจัยแบบ Area-based Collaborative Research

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google