การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ สำนักงาน กศน. กศน.จังหวัด กศน.อำเภอ กศน.ตำบล
กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย ยุทธศาสตร์การพัฒนา กศน.ตำบลสู่ความสำเร็จ กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย
จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อปวงชน บทบาทหน้าที่ของ กศน. จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อปวงชน
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ (42) กำหนดรูปแบบการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 กิจกรรมการศึกษาที่มีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ และ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ที่ชัดเจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรียนหรือฝึกอบรมที่ยืดหยุ่นและ หลากหลายตามสภาพความต้องการ
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 และศักยภาพของกลุ่มเป้าหมายและมีวิธีการวัดผล และ ประเมินผลการเรียนรู้ที่มีมาตรฐาน เพื่อรับรองคุณวุฒิ ทางการศึกษาหรือเพื่อจัดระดับผลการเรียนรู้
การศึกษานอกระบบประกอบด้วย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
การศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจำวันของบุคคล ซึ่งบุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพในการเรียนรู้ของแต่ละ บุคคล “ใครใคร่เรียนอะไร ต้องได้เรียนตามใจปรารถนา”
เราจะมีวิธีการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.ต้องสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ เพื่อตอบสนองความต้องการได้อย่างหลากหลาย - ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน - สร้างภาคีเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ ทั้ง ภาครัฐ เอกชน สถานประกอบการ องค์กรชุมชน สถาบันศาสนา ภูมิปัญญา ท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ครู กศน.ตำบล และครู ศรช. คือบุคคลสำคัญที่จะขับเคลื่อนกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ.ส่งเสริม พ.ศ.2551
กศน.ตำบล : ศูนย์เรียนรู้ตลอดชีวิต คือหน่วยจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ชีวิต ของประชาชน และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ในชุมชน
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา กศน.ตำบล สู่ความสำเร็จ คณะกรรมการ กศน.ตำบล คือบุคคลสำคัญ ด้านการบริหารจัดการ ครู กศน.ตำบล / ครู ศรช. จะทำหน้าที่ใน คณะกรรมการและเลขานุการได้อย่างไร
องค์กรนักศึกษา กศน. และ อาสาสมัคร กศน. ทำหน้าที่ขับเคลื่อนกิจกรรมและการพัฒนา ใน กศน.ตำบล ให้เป็นไปตามนโยบายของ คณะกรรมการ กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล / ครู ศรช. จะทำหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน กำกับควบคุม ดูแล และสร้างบรรยากาศการทำงานได้อย่างไร
ภาคีเครือข่ายทำให้ เกิดความหลากหลายของกิจกรรม คณะกรรมการ กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล / ครู ศรช. อาสาสมัคร กศน. องค์กรนักศึกษา กศน. ทำหน้าที่สร้างบรรยากาศตามวิถีของชุมชน
ประสานเชื่อมโยงความเข้าใจให้ภาคี เครือข่ายมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ต่อเนื่องคือหัวใจสำคัญ การส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจมี ความสำคัญต่อสังคมไทยเป็นอย่างยิ่ง
บัญญัติ 10 ประการ ที่จะทำให้ ครู กศน. ตำบล / ครู ศรช บัญญัติ 10 ประการ ที่จะทำให้ ครู กศน.ตำบล / ครู ศรช. ทำงานประสบผลสำเร็จ ปากเป็นเอก เลขแม่น แผนเหมาะ เจาะลึก ฝึกจริง
ยิงเป้า เข้าถึง ตรึงนาน หาญแก้ แพ้เป็น
ขอบคุณ และสวัสดี