การกระทำทางคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
BC320 Introduction to Computer Programming
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการในภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
Overview of C Programming
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) บทที่ 2: ทบทวนการเขียน ภาษา Java ใช้ร่วมกับ Html และการรับข้อมูลจาก Form.
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระทำทางคณิตศาสตร์

เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น (Operation) Operator ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในภาษา Java ได้แก่ + การบวก - การลบ * การคูณ / การหาร % การหารเอาเศษ

การหารด้วย (/) และ การหารเอาเศษด้วย (%) ในการหารด้วยเครื่องหมาย / หรือ % -หากตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำนวนจริง ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนจริง - แต่หากทั้งตัวตั้งและตัวหารเป็นจำนวนเต็มผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนเต็มด้วย 22 / 5 = 4 22 / 5 = 4.4 25 / 5 = 5.0 23 % 5 = 3 23 % 25 = 23 15.5 % 4 = 3.5

หมายเหตุ หากลำดับในการคำนวณเท่ากันจะทำการคำนวณจากซ้ายไปขวา ก่อน วงเล็บ ( ) การคูณ หาร *, / , % การบวก ลบ + , - หลัง หมายเหตุ หากลำดับในการคำนวณเท่ากันจะทำการคำนวณจากซ้ายไปขวา

การเริ่มต้นเขียนโปรแกรมเพื่อการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ประกาศตัวแปร input เพื่อนำเข้าข้อมูลสำหรับการประมวลผลพร้อมทั้งกำหนดค่าให้กับตัวแปร input นั้นๆ ประกาศตัวแปร output เพื่อใช้รับค่าที่เกิดจากการประมวลผล ทำการประมวลผล โดยใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ให้สอดคล้องกับการประมวลผลที่ต้องการ โดยจะต้องนำผลลัพธ์จากการประมวลผลไปเก็บที่ตัวแปร output สั่งแสดงผลตัวแปร output หรือ อื่นๆที่ต้องการ (อาจเป็น input)

ตัวอย่างการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ให้นักศึกษารับค่า ตัวเลข 2 จำนวน (กำหนดเอง) จากนั้นให้ทำการหาผลรวม แล้วแสดงออกทางหน้าจอ // ประกาศตัวแปร input พร้อมรับค่า int num1=10, num2=17; // ประกาศตัวแปร output เพื่อรับผลลัพธ์ int result; //ประมวลผล ผลลัพธ์=ตัวเลขที่ 1+ตัวเลขที่ 2 result=num1+num2; //แสดงผลลัพธ์ออกหน้าจอ System.out.println(“ผลลัพธ์ของ”+num1+ “+”+num2+ “=” result);

แบบฝึกหัดการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ให้นักศึกษา เขียนโปรแกรมเพื่อหาคำตอบของ (12+10)*10%3 จากนั้นให้ทำการหาผลรวม แล้วแสดงออกทางหน้าจอ 2. ให้นักศึกษารับค่าตัวเลขจำนวนเต็ม 2 ตัว โดย ตัวที่ 1 กำหนดให้เป็น 15 ตัวที่ 2 กำหนดให้เป็น 4 จากนั้นให้นักศึกษาหาผลหารของตัวเลขตัวที่ กับตัวเลขตัวที่ 2 แล้วแสดงผลลัพธ์ออกหน้าจอ

การเปลี่ยนชนิดของข้อมูล 1. Implicit Conversion การเปลี่ยนชนิดของข้อมูลโดยอัตโนมัติ อันเกิดเนื่องมาจากผลของการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น นำตัวแปรจำนวนเต็มมาบวกกับตัวแปรจำนวนจริง ค่าที่ได้จะเป็นค่าจำนวนจริง 2. Explicit Conversion เราสามารถเปลี่ยนแปลงชนิดของข้อมูลตามความต้องการได้ โดยการระบุชนิดของตัวแปรที่ต้องการเปลี่ยนภายใน ( ) แล้ววางไว้หน้าตัวแปร หรือข้อมูลที่ต้องการเปลี่ยนชนิด

ตัวอย่างการเปลี่ยนชนิดของข้อมูล กรณีที่ 1 คือ ตัวเลข ไปเป็น ตัวเลข ที่ชนิดต่างกัน เปลี่ยน int  float  (float)ตัวเลขจำนวนเต็ม (float)55.0 เปลี่ยน int  double  (double)ตัวเลขจำนวนเต็ม (double)55.0 เปลี่ยน float int  (int)ตัวเลขที่เป็นทศนิยม (int)5.65 เปลี่ยน double  int  (int)ตัวเลขที่เป็นทศนิยม

ตัวอย่างการเปลี่ยนชนิดของข้อมูล กรณีที่ 2 คือ ตัวเลขที่ถูกรับค่ามาเป็นข้อความ ไปเป็น ชนิดที่เป็นตัวเลข เปลี่ยน string  int  Integer.parseInt(ตัวเลขชนิดข้อความ) //ตัวอย่าง string num=5; //จะเอาไปกระทำทางคณิตศาสตร์ไม่ได้ต้องเปลี่ยนให้เป็นชนิด int ก่อน Integer.parseInt(5) 5 //ซึ่ง 5 ที่ได้จะคำนวณได้แล้ว หมายเหตุ ต้องใช้เมื่อรับค่าผ่าน textbox ,inputbox เป็นต้น double.parsedouble(5) 5.0 //คำนวณได้

การรับค่าผ่าน inputbox เป็น dialog ที่แสดงขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้งานโปรแกรมทำการป้อนข้อมูลตามต้องการ จากนั้นโปรแกรมจะนำค่าเหล่านั้นเป็นประมวลผล หรือ แสดงผล ตามคำสั่งการประมวลผลในโปรแกรม การรับค่าผ่าน inputbox จะรับ input เป็น String เท่านั้น ถ้าจะใช้เป็นชนิดอื่นๆต้องเอาไปเปลี่ยนชนิดข้อมูล (Conversion) ของค่าที่รับจาก inputbox //ประกาศตัวแปร input ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร ; //ชนิดข้อมูลตามความเป็นจริง เช่น String , Int , Double //รับค่าผ่าน inputbox ชื่อตัวแปร=JOptionPane.ShowInputDialog(“ข้อความที่จะบอกว่าผู้ใช้ควรจะป้อนข้อมูลอะไร”); //ถ้าชนิดตัวแปรไม่ใช่ String จะต้องแปลงค่าจาก inputbox

ตัวอย่างการรับค่าผ่าน inputbox //ประกาศตัวแปร input เป็น String String yourname ; //รับค่าผ่าน inputbox yourname=JOptionPane.ShowInputDialog(“กรุณาป้อนชื่อของคุณ”); //แสดงผล System.out.println(“ยินดีต้อนรับคุณ ”+ yourname + “ เข้าสู่โปรแกรม”);

ตัวอย่างการรับค่าผ่าน inputbox ในกรณีเกี่ยวกับการคำนวณ int num1,num2 ; //ประกอบตัวแปร output int result; //รับค่าผ่าน inputbox num1=Interger.parseInt(JOptionPane.ShowInputDialog(“ป้อนตัวเลข 1”)); num2=Interger.parseInt(JOptionPane.ShowInputDialog(“ป้อนตัวเลข 2”)); //ประมวลผล result=num1+num2; //แสดงผล System.out.println(“ผลลัพธ์คือ ” result);

แบบฝึกหัด ให้นักศึกษา เขียน สั่งเพื่อรับค่า - ชื่อวิชา - เกรด โดยให้บอกผู้ใช้ให้ป้อนเกรดเป็นแบบตัวเลข คือ (4,3.5,3,2.5,2,1.5,1,0) - หน่วยกิต ผ่าน Inputbox จำนวน 2 วิชา จากนั้นให้นักศึกษาเขียน โปแกรมเพื่อหาค่าเฉลี่ยออกมาบนหน้าจอ ดังนี้คือ คุณได้เกรดเฉลี่ยในรายวิชา …. และ รายวิชา …… เท่ากับ …….(ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)