ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สกลนครโมเดล.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้ จากการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ รอบที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 18 – 20 มีนาคม 2558 ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้

การพัฒนาการเด็ก ข้อมูล ข้อเสนอแนะ จังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดนำร่อง ของ 8 จังหวัด ภาคเหนือ ในการดำเนินการเรื่อง การคัดกรอง และติดตามพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี (Lanna Child Development Integration Project : LCDIP) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ คู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย และคู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กและกลุ่มเสี่ยง วัตถุประสงค์ : เพื่อให้เด็กไทยมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 และเด็กกลุ่มเสี่ยง ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการร้อยละ 80 *** ให้ผู้บริหารของโรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอทุกแห่งให้ความสำคัญ และศึกษาให้เข้าใจและให้มีการติดตามเด็กได้ทุกราย มีการคัดกรองและเฝ้าระวัง (Screening andsurveillance) และขยาย WCC Clinic รองรับ

2. เรื่องไข้เลือดออก หัวข้อ ข้อเสนอแนะ 2. เรื่องไข้เลือดออก จังหวัดเชียงใหม่ มีแผนป้องกันควบคุมโรคได้อย่างเข้มแข็ง *** โดยให้เพิ่มเรื่องการป้องกัน ควบคุมโรคล่วงหน้า การหาค่า HI ,CI ที่ยังพบในสถานที่ร้าง โรงเรียน และอำเภอที่มีความเสี่ยงสูง เช่น อำเภอเมือง อำเภอสันป่าตอง

3. การให้ยา SK ในโรงพยาบาลชุมชน หัวข้อ ข้อเสนอแนะ 3. การให้ยา SK สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจในโรงพยาบาลชุมชน *** ให้มีการทบทวนว่า ยังมีโรงพยาบาลชุมชนที่ไม่มีผู้ป่วย หรือยังไม่สามารถดำเนินการได้ และจะต้องเร่งดำเนินการ

4. หมอครอบครัว FCT (Family Care Team) หัวข้อ ข้อเสนอแนะ 4. หมอครอบครัว FCT (Family Care Team) *** ควรจะมีหมายเลขโทรศัพท์ของเจ้าหน้าที่ที่สามารถติดต่อสื่อสารได้ใน 24 ชั่วโมง ให้กับประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต. ทราบ ทั้งในกลุ่ม Palliative Care ที่อยู่ในชุมชน

5. การลดค่าใช้จ่ายยา ข้อมูลพื้นฐาน ข้อเสนอแนะ 5. การลดค่าใช้จ่ายยา - โรงพยาบาลที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการจัดการยาของจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ โรงพยาบาลแม่ออน *** ขอให้มีการพิจารณาเรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล หรือ ความเสี่ยงกับอันตรายการใช้ยา(Alternative)

6. การแบ่งประเภทวัสดุการแพทย์ ข้อมูล ข้อเสนอแนะ 6. การแบ่งประเภทวัสดุการแพทย์ ในโรงพยาบาลนครพิงค์ *** ได้แก่ วัสดุการแพทย์ แก๊ส ในทางการแพทย์ และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ขอให้รวมอยู่ในวัสดุการแพทย์ทั้งหมด

7. การรายงานข้อมูลเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยาต่อกระทรวง ข้อมูลพื้นฐาน ข้อเสนอแนะ 7. การรายงานข้อมูลเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ ยาต่อกระทรวง พบว่ามีโรงพยาบาลชุมชนที่มีการรายงานมีจำนวน 7 – 8 แห่ง จาก 24 แห่ง *** ขอให้โรงพยาบาลชุมชนที่เหลือเร่งดำเนินการ

8. การเบิกจ่ายวัสดุการแพทย์ของกลุ่มงานเวชกรรมฯ โรงพยาบาลนครพิงค์ หัวข้อ ข้อเสนอแนะ 8. การเบิกจ่ายวัสดุการแพทย์ ของกลุ่มงานเวชกรรมฯ โรงพยาบาล นครพิงค์ ที่สนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิ *** ขอให้ดำเนินการผ่านหน่วยงานหลัก เช่น - กลุ่มงานทันตกรรม,Lab, ฯลฯ เพื่อการกำกับ ดูแล และการหมดอายุของวัสดุนั้น

9. การลงฐานข้อมูลสุขภาพจิต หัวข้อ ข้อเสนอแนะ 9. การลงฐานข้อมูลสุขภาพจิต *** - ขอให้เป็นข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน - ให้มีการติดตามผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง (Case chronic) และผู้ป่วยที่มีภาวะ Depression ที่ขาดยาหรือหยุดยาเอง

หมายเหตุ ในการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ กระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 จะเป็นการตรวจติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ และดูผลงานความสำเร็จตามเป้าหมายต่อไป