คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
25/07/2006.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ระบบHomeward& Rehabilation center
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
นโยบายด้านบริหาร.
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลสวนปรุง ปีงบประมาณ 2557
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
PCT ทีมนำทางคลินิก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท PCT Schizophrenia

พัฒนาคุณภาพระบบบริการด้าน ส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ป่วยโรคจิตเภทอย่างมี มาตรฐาน PCT Schizophrenia

จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ OPD ปีงบ 54-56

จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ IPD ปีงบ 54-56

กระบวนการพัฒนา

กระบวนการพัฒนาคุณภาพในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับบริการ ระบบป้องกันการกลับมารักษาซ้ำของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่ม Multiple episode การบำบัดฟื้นฟูภาวะโภชนาการในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มี ภาวะอ้วนลงพุง

ระบบป้องกันการกลับมารักษาซ้ำ ของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่ม Multiple episode พัฒนาแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อการกลับมารักษาซ้ำใน หอผู้ป่วยนอก และหอผู้ป่วยใน พัฒนาแนวทางการบำบัดฟื้นฟูตามสาเหตุการกลับมารักษาซ้ำ พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการประเมินความเสี่ยงต่อการ กลับมารักษาซ้ำ และทักษะการบำบัดฟื้นฟูแก่สหวิชาชีพ

พัฒนาระบบการบำบัดฟื้นฟูในหอผู้ป่วยนอก โดยทดลอง จัดบริการคลินิกเฉพาะโรคจิตเภท (คลินิกรักษ์จิต) ในทุกวัน พฤหัสบดี จัดให้มีการการบำบัดทั้งแบบรายบุคคล โดยผู้ ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (APN) และการบำบัดแบบกลุ่ม โดยทีมสหวิชาชีพ พัฒนาระบบการบำบัดฟื้นฟูในหอผู้ป่วยใน โดย จัดให้มีการ บำบัดทั้งแบบรายบุคคลและการบำบัดแบบกลุ่มโดยผู้ปฏิบัติการ พยาบาลขั้นสูงและทีมสหวิชาชีพ

จัดตั้งศูนย์การบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคจิตเภท โดยทำหน้าที่ สนับสนุนองค์ความรู้ เทคโนโลยีในการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย โรคจิตเภท พัฒนาองค์ความรู้ด้านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคจิตเภท Training สมรรถนะบุคลากรในการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรค จิตเภท เป็นที่ปรึกษาในด้านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มี ปัญหาซับซ้อน

ผลการพัฒนา ปีงบ 2554 ปีงบ 2555 ปีงบ 2556   ปีงบ 2554 ปีงบ 2555 ปีงบ 2556 การประเมินความเสี่ยงต่อ การกลับมารักษาซ้ำ หอผู้ป่วยนอก 86.66 90 93.33 หอผู้ป่วยใน 83.33 การวางแผนการจำหน่ายอย่างมีประสิทธิภาพ 76.66 80.80 82.40 อัตราการกลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผนล่วงหน้า 8.82 11.52 12.43

แผนการพัฒนาต่อเนื่อง พัฒนาระบบการติดตามผู้ป่วยภายหลังการจำหน่าย และ การส่งต่อข้อมูลให้ชุมชน เพิ่มศักยภาพในการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยจิตเภท

การบำบัดฟื้นฟูภาวะโภชนาการในผู้ป่วยโรคจิตเภท ที่มีภาวะอ้วนลงพุง พัฒนาแนวทางการประเมินภาวะอ้วนลงพุงในผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารับบริการ ในหอผู้ป่วยนอก พัฒนาแนวทางการบำบัดฟื้นฟูภาวะโภชนาการในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มี ภาวะอ้วนลงพุง พัฒนาศักยภาพบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินภาวะอ้วนลงพุง และการ บำบัดฟื้นฟูภาวะโภชนาการในผู้ป่วยจิตเภทที่มีภาวะอ้วนลงพุงแก่ สหวิชาชีพ

พัฒนาระบบการบำบัดฟื้นฟูภาวะโภชนาการในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มี ภาวะอ้วนลงพุงในหอผู้ป่วยนอก โดยการให้โภชนศึกษา ในวันพฤหัสบดี พัฒนาระบบการบำบัดฟื้นฟูในหอผู้ป่วยใน โดยผู้ป่วย MS ทุกราย จะ ได้รับโภชนบำบัด โดยโภชนากร และมีการให้โภชนศึกษาทุกวันอังคาร ในหอผู้ป่วยชาย และหอผู้ป่วยหญิง และกำหนดให้ผู้ป่วยเข้าร่วม กิจกรรมออกกำลังกายทุกวัน วันละ 30 นาที ที่อาคารฟื้นฟู สมรรถภาพชายและหญิง (OT)

ผลการพัฒนา ปีงบ 2554 ปีงบ 2555 ปีงบ 2556   ปีงบ 2554 ปีงบ 2555 ปีงบ 2556 ร้อยละของการเกิดภาวะอ้วนลงพุงในผู้ป่วยจิตเภท 50 57.69 40.74 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเภทที่มีภาวะอ้วนลงพุงมีภาวะโภชนาการดีขึ้น - 68 70

แผนการพัฒนาต่อเนื่อง พัฒนาแนวทางการบำบัดรักษาในผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วน ลงพุง การติดตามภาวะโภชนาการภายหลังการจำหน่ายออกจาก โรงพยาบาล