มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยอันตราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
โครงงานเปียงหลวงร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ.
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
G Garbage.
1. กลุ่มเป้าหมาย แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่เวช สถิติจากทุกโรงพยาบาล 2. วิธีการพัฒนา เน้นการลงมือปฏิบัติการตรวจสอบ จากแฟ้มผู้ป่วยในจริง โดยเน้น รพ. ชะอำ.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.เรืองโรจน์สระบุรี
หจก ส.เรืองโรจน์สระบุรี งานบริการขนย้ายมูลฝอยติดเชื้อไปเผาทำลาย
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
พิเชษฐ์ ไชยวงค์ สาธารณสุขอำเภอหนองหิน. ที่มา..... นโยบายที่เริ่มดำเนินการ ตั้งแต่ปี ปัจจุบัน เตรียมคน / สถานที่ / ประสานทีม แพทย์ / เภสัช / Lab.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
การดำเนินงานตามนโยบายทีมหมอครอบครัว ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2558
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
แผนการตรวจราชการและนิเทศงานยาเสพติด
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยอันตราย วาระการบริหารจัดการ มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยอันตราย

ข้อมูลทั่วไป ปี 2557 สถานบริการสาธารณสุขในจังหวัดสตูล ประกอบด้วย - โรงพยาบาลของรัฐ 7 แห่ง - รพ.สต. 55 แห่ง - คลินิก 65 แห่ง - สถานพยาบาลสัตว์ 4 แห่ง

สถานการณ์ขยะติดเชื้อ สสจ.สตูล ปี 2558 การคัดแยกและเก็บรวบรวม สถานการณ์ขยะติดเชื้อ สสจ.สตูล ปี 2558 ชื่อสถานพยาบาล จำนวนเตียง ปริมาณขยะติดเชื้อ (กก./วัน) การคัดแยกและเก็บรวบรวม การกำจัดขยะติดเชื้อ แยกจากมูลฝอยทั่วไป การฆ่าเชื้อมูลฝอยติดเชื้อ ห้องเก็บมูลฝอยติดเชื้อ ภาชนะ เก็บกักมีสัญลักษณ์ชัดเจน รพ.สตูล 186 120 มี ส่งกำจัดบ.เซฟวันกรีนเทค รพ.ควนกาหลง 30 15 - รพ.ท่าแพ 11 ไม่มี รพ.ควนโดน 10.5 รพ.ทุ่งหว้า ใช้เตาเผาขยะของรพ.เอง รพ.ละงู 60 49 รพ.มะนัง ส่งรพ.ควนกาหลง หมายเหตุ : ข้อมูลจากรายงานผลการสำรวจข้อมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ สน.สิ่งแวดล้อมภาคที่ 15 ภูเก็ต

นโยบายนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสตูล 1. โรงพยาบาลละงูและทุ่งหว้า ซึ่งมีระบบกำจัดขยะโดยใช้เตาเผา ให้เป็นโรงพยาบาลแม่ข่ายในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ โดยเก็บค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจากโรงพยาบาลลูกข่าย ดังนี้ 1.1 โรงพยาบาลละงู รับมูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาลท่าแพและโรงพยาบาลควนโดน

การเตรียมการรองรับนโยบายการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ 1.2 โรงพยาบาลทุ่งหว้า รับมูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาลควนกาหลงและโรงพยาบาลมะนัง 1.3 โรงพยาบาลสตูล ซึ่งเป็นโรงพยาบาลทั่วไป ให้หาวิธีการดำเนินการที่เหมาะสม

การเตรียมการรองรับนโยบายการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ระบบเก็บขน - โรงพยาบาลละงูและทุ่งหว้า จัดทำแผนซื้อรถเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อ เพื่อรับมูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาลลูกข่าย โดยได้รับจัดสรรจาก สสจ.สตูล - โรงพยาบาลลูกข่าย ให้เตรียมรถ สำหรับเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อ จากสถานพยาบาลในพื้นที่

การเตรียมการรองรับนโยบายการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ระบบการพักขยะ โรงพยาบาลทุกแห่ง มีโรงพักขยะที่ถูกหลักสุขาภิบาล เตรียมพื้นที่เพื่อให้มีสถานที่เก็บมูลฝอยติดเชื้อ และลานตากมูลฝอยติดเชื้อก่อนนำเข้าสู่เตาเผา

การเตรียมการรองรับนโยบายการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ระบบกำจัดขยะ - โรงพยาบาลแม่ข่าย คือ โรงพยาบาลละงูและทุ่งหว้า ตรวจสอบเตาเผาขยะ ว่า สามารถรองรับการเผามูลฝอยติดเชื้อ ได้กี่กิโลกรัมต่อวัน เตาเผาขยะใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ หรือต้องการปรับปรุงเตาเผาขยะอย่างไร

การเตรียมการรองรับนโยบายการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ระบบกำจัดขยะ - ถุงรองรับมูลฝอยติดเชื้อควรมีสัญลักษณ์หรือฉลากแสดง - มูลฝอยติดเชื้อที่เก็บอยู่ในถุงหรือภาชนะ ควรนำน้ำออกจากมูลฝอยติดเชื้อก่อนนำไปกำจัด

การเตรียมการรองรับนโยบายการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ระบบกำจัดขยะ - มูลฝอยติดเชื้อจากสถานพยาบาลในพื้นที่เกาะ ไม่ให้นำไปทิ้งรวมกับมูลฝอยทั่วไปของสถานที่กำจัดของพื้นที่ โดยให้นำมูลฝอยตืดเชื้อให้โรงพยาบาลเขตพื้นที่

การเตรียมการรองรับนโยบายการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ระบบกำจัดขยะ - ในช่วงระยะเวลาที่ยังไม่สามารถดำเนินการมูลฝอยติดเชื้อให้กับโรงพยาบาลแม่ข่ายได้ โดยยังให้บริษัทเซฟวัน กรีนเทค นำไปกำจัด นั้น ให้โรงพยาบาลที่จ้างเก็บขนเตรียมแผนเวียนติดตามรถเก็บขนของบริษัทฯ ร่วมกับกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ โดยให้ติดตามอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง

2. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสตูล และกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ ออกเยี่ยม ติดตาม การดำเนินการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาลแม่ข่าย คือ โรงพยาบาลละงู โรงพยาบาลทุ่งหว้า 3. ให้กลุ่มงานคุมครองผู้บริโภค ซึ่งรับขึ้นทะเบียนคลินิกรักษาผู้ป่วย ให้ติดตามการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ โดยให้กำชับให้สถานพยาบาลนำไปกำจัดที่ถูกหลักสุขาภิบาลหรือส่งโรงพยาบาลในพื้นที่

4. สถานพยาบาลสัตว์ ยังไม่ได้มีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อที่ถูกหลักสุขาภิบาล ซึ่งทางสสจ.สตูล ได้ขอความร่วมไปยังสน.ปศุสัตว์จ.สตูล ให้แจ้งให้สถานพยาบาลสัตว์ ที่มาขอขึ้นทะเบียนฯ รวบรวมมูลฝอยติดเชื้อไปให้โรงยาบาลในพื้นที่กำจัดต่อไป โดยสถานพยาบาลฯ ดังกล่าว รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง

ขยะอันตราย ให้โรงพยาบาลแต่ละแห่งเตรียมสถานที่เก็บขยะอันตรายและรองรับขยะอันตรายจากสถานพยาบาลในพื้นที่ เพื่อรวบรวมนำส่งให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลนำไปกำจัดต่อไป