ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
การสังเคราะห์ (synthesis)
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง 1) แต่งตั้งคณะทำงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม - คณะกรรมการที่ปรึกษา - คณะทำงานวิจัย

กำหนดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกองทุนฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรหลังการพักชำระหนี้ ต. ห้วยนาง อ.ห้วยยอด จังหวัดตรัง ( กิจกรรม การทำเครื่องแกง)

 จัดเวที  สร้างเครื่องมือ  สรุปผล  รายงานผล 3) กำหนดแผนปฏิบัติงานวิจัย ก.พ. - ก.ย. 2552  ประชุมคณะทำงาน  จัดเวที  สร้างเครื่องมือ  สรุปผล  รายงานผล

ประชุมคณะงานวิจัย 26 ก.พ. 52 ( สนง.เกษตรจังหวัด) สรุปผลการสัมมนาจาก มศธ. พิจารณากลุ่ม เพื่อทำการศึกษา กำหนดวัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพัฒนารูปแบบการจัดการด้านการตลาดที่เหมาะสม เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างทายาทรุ่นใหม่ เพื่อศึกษาปัญหาที่มีผลต่อการลดต้นทุนการผลิตเครื่องแกง ศึกษาแนวทางการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ศึกษารูปแบบการบูรณาการจัดการเรียนรู้

จัดเวทีวิจัยกลุ่มครั้งที่ 1 (4 มี.ค.52) ผู้ร่วมเวที 36 คน ชี้แจงวัตถุประสงค์ / จัดเวที เปิดโอกาส / เสนอความคิดเห็น สมาชิก เล่าความเป็นมา จัดทำ SWOT ศักยภาพกลุ่ม

ปัจจัยภายใน จุดดี มีความสามัคคี /สมาชิกดี สินค้ามีคุณภาพ สะอาด ชุมชนมีงานทำ /มีรายได้ เป็นแหล่งเรียนรู้

จุดด้อย เครื่องบดไม่ทันสมัย กำลังไฟฟ้ามีปัญหา ไฟตกบ่อย วัตถุดิบการผลิตในชุมชนไม่เพียงพอ การประชาสัมพันธ์น้อย ตลาดมีส่วนแบ่ง

เน้นการประชาสัมพันธ์ ภาครัฐ /เอกชน สนับสนุนปัจจัย ปัจจัยภายนอก โอกาส ขยายสมาชิกเพิ่ม เน้นการประชาสัมพันธ์ ภาครัฐ /เอกชน สนับสนุนปัจจัย

อุปสรรค ต้นทุนการผลิตสูง ตลาดถูกแบ่งลูกค้า วัตถุดิบในท้องถิ่นไม่เพียงพอ สมาชิก ไม่มีเวลา (สวนยางพารา)

จัดเวทีครั้งที่ 2 (3 เม.ย. 2552 ) ☺ ผู้ร่วมเวที 41 คน จัดเวทีครั้งที่ 2 (3 เม.ย. 2552 ) ☺ ผู้ร่วมเวที 41 คน ประเด็น ส่งเสริมการผลิต/ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (ด้านรสชาด + บรรจุภัณฑ์ )

การผลิตและใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น วัตถุดิบส่วนผสมเครื่องแกง 10 ชนิด ขมิ้น /ข่า/ตะไคร้ / หอม /กระเทียม พริกขี้หนู/พริกไทย/มะกรูด/เกลือ/กะปิ

วัตถุดิบที่ผลิตเองได้ แต่ไม่พอ  ขมิ้น ข่า ตะไคร้ พริกขี้หนู พริกไทย มะกรูด

วิธีการผลิต ปลูกเป็นพืชสวนครัว

ปัญหาของการปลูก อาชีพสวนยางพารา ดินไม่ดี ขาดน้ำ

การซื้อวัตถุดิบจากภายนอก 1 ปี จำนวน บาท

แนวคิดของกลุ่ม  สมาชิกทุกครัว ปลูกพืช ทำปุ๋ยหมัก ปลูกในกระสอบปุ๋ย กลุ่มรับซื้อผลผลิต + ประกันราคา อนาคตเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องแกง เป้าหมายเพิ่มสมาชิก 500 ครัว เพิ่มสินค้า / เครื่องแกงใหม่ การพัฒนาองค์ประกอบ คน ตลาด ทุน ปัจจัยการผลทักษะ ความรู้ ประสบการณ์

การทำงานของสมาชิก วัยหนุ่มสาว - สูงอายุ รับฟังคำติชม สามัคคี ความรัก แรงจูงใจ

การตลาด ตลาดในท้องถิ่น (มีส่วนแบ่ง) ตลาดนอก ต้องเพิ่มสินค้า ศึกษาตลาด วางแผน ติดตามประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่าย บรรจุภัณฑ์

การลงทุน / ต้นทุนการผลิต เพิ่มปัจจัยการผลิต พัฒนากำลังการผลิต เพิ่มรายได้กลุ่ม ปริมาณผลผลิตภัณฑ์ รายได้สมาชิก / รายได้กลุ่ม

ปัจจัยการผลิต วัตถุดิบมีคุณภาพ

ทักษะ / ประสบการณ์ การบริหารจัดการกลุ่ม วางแผนการผลิต / ค้นหาตลาด การใช้ปัจจัยการผลิต การแบ่งปันผลประโยชน์ การพัฒนากลุ่มให้ยั่งยืน

การรับการสนับสนุน หน่วยงานองค์กร /เอกชน

จัดเวทีครั้งที่ 3 ( 18 พ.ค.52) ผู้ร่วมเวที 42 คน จัดเวทีครั้งที่ 3 ( 18 พ.ค.52) ผู้ร่วมเวที 42 คน ประเด็น การเรียนรู้สู่ลูกหลาน (การสืบทอด) การประชาสัมพันธ์

การเรียนรู้สู่ลูกหลาน  การเรียนรู้สู่ลูกหลาน  วัตถุประสงค์ ความยั่งยืนของกลุ่ม ฝึกการบริหารจัดการในคนรุ่นใหม่ ให้มีความมั่นคงในอาชีพ

สถานการณ์สืบทอด  การเพิ่มของสมาชิก  ความสนใจของคนรุ่นใหม่  สมาชิก อายุ 45 – 55 ปี  การเพิ่มของสมาชิก  ความสนใจของคนรุ่นใหม่  ขาดความรู้ ในการบริหาร/การตลาด

 ปรับปรุงระเบียบข้อปฏิบัติเดิม  จัดกิจกรรมเพิ่มเติมแก่คนรุ่นใหม่ แนวทางการสืบทอด   สร้างความเชื่อมั่น  สร้างคนรุ่นใหม่  ปรับปรุงระเบียบข้อปฏิบัติเดิม  จัดกิจกรรมเพิ่มเติมแก่คนรุ่นใหม่  ศึกษาดูงานจากภายนอก

 ต้องการให้คนทั่วไปรู้จัก/บริโภค  ต้องการขยายตลาดเพิ่มขึ้น การประชาสัมพันธ์  วัตถุประสงค์  ต้องการให้คนทั่วไปรู้จัก/บริโภค  ต้องการขยายตลาดเพิ่มขึ้น  เพื่อการเพิ่มช่องทางของธุรกิจ

การประชาสัมพันธ์  อดีต - ปัจจุบัน อดีต - ปัจจุบัน ทำเสร็จแล้วขาย  บอกต่อจากปากสู่ปาก  ผ่านวิทยุชุมชน  ผ่านส่วนราชการ  การศึกษาดูงาน  มีเสื้อทีม

 สร้างสโลแกน สติกเกอร์ อนาคต   สร้างสโลแกน สติกเกอร์  ร่วมในงานเทศกาล  ขายตรง แลกเปลี่ยนสินค้า เพิ่มผลิตภัณฑ์  เรียนรู้การตลาด  จากหน่วยงาน/องค์กร