ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง 1) แต่งตั้งคณะทำงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม - คณะกรรมการที่ปรึกษา - คณะทำงานวิจัย
กำหนดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกองทุนฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรหลังการพักชำระหนี้ ต. ห้วยนาง อ.ห้วยยอด จังหวัดตรัง ( กิจกรรม การทำเครื่องแกง)
จัดเวที สร้างเครื่องมือ สรุปผล รายงานผล 3) กำหนดแผนปฏิบัติงานวิจัย ก.พ. - ก.ย. 2552 ประชุมคณะทำงาน จัดเวที สร้างเครื่องมือ สรุปผล รายงานผล
ประชุมคณะงานวิจัย 26 ก.พ. 52 ( สนง.เกษตรจังหวัด) สรุปผลการสัมมนาจาก มศธ. พิจารณากลุ่ม เพื่อทำการศึกษา กำหนดวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพัฒนารูปแบบการจัดการด้านการตลาดที่เหมาะสม เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างทายาทรุ่นใหม่ เพื่อศึกษาปัญหาที่มีผลต่อการลดต้นทุนการผลิตเครื่องแกง ศึกษาแนวทางการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ศึกษารูปแบบการบูรณาการจัดการเรียนรู้
จัดเวทีวิจัยกลุ่มครั้งที่ 1 (4 มี.ค.52) ผู้ร่วมเวที 36 คน ชี้แจงวัตถุประสงค์ / จัดเวที เปิดโอกาส / เสนอความคิดเห็น สมาชิก เล่าความเป็นมา จัดทำ SWOT ศักยภาพกลุ่ม
ปัจจัยภายใน จุดดี มีความสามัคคี /สมาชิกดี สินค้ามีคุณภาพ สะอาด ชุมชนมีงานทำ /มีรายได้ เป็นแหล่งเรียนรู้
จุดด้อย เครื่องบดไม่ทันสมัย กำลังไฟฟ้ามีปัญหา ไฟตกบ่อย วัตถุดิบการผลิตในชุมชนไม่เพียงพอ การประชาสัมพันธ์น้อย ตลาดมีส่วนแบ่ง
เน้นการประชาสัมพันธ์ ภาครัฐ /เอกชน สนับสนุนปัจจัย ปัจจัยภายนอก โอกาส ขยายสมาชิกเพิ่ม เน้นการประชาสัมพันธ์ ภาครัฐ /เอกชน สนับสนุนปัจจัย
อุปสรรค ต้นทุนการผลิตสูง ตลาดถูกแบ่งลูกค้า วัตถุดิบในท้องถิ่นไม่เพียงพอ สมาชิก ไม่มีเวลา (สวนยางพารา)
จัดเวทีครั้งที่ 2 (3 เม.ย. 2552 ) ☺ ผู้ร่วมเวที 41 คน จัดเวทีครั้งที่ 2 (3 เม.ย. 2552 ) ☺ ผู้ร่วมเวที 41 คน ประเด็น ส่งเสริมการผลิต/ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (ด้านรสชาด + บรรจุภัณฑ์ )
การผลิตและใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น วัตถุดิบส่วนผสมเครื่องแกง 10 ชนิด ขมิ้น /ข่า/ตะไคร้ / หอม /กระเทียม พริกขี้หนู/พริกไทย/มะกรูด/เกลือ/กะปิ
วัตถุดิบที่ผลิตเองได้ แต่ไม่พอ ขมิ้น ข่า ตะไคร้ พริกขี้หนู พริกไทย มะกรูด
วิธีการผลิต ปลูกเป็นพืชสวนครัว
ปัญหาของการปลูก อาชีพสวนยางพารา ดินไม่ดี ขาดน้ำ
การซื้อวัตถุดิบจากภายนอก 1 ปี จำนวน บาท
แนวคิดของกลุ่ม สมาชิกทุกครัว ปลูกพืช ทำปุ๋ยหมัก ปลูกในกระสอบปุ๋ย กลุ่มรับซื้อผลผลิต + ประกันราคา อนาคตเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องแกง เป้าหมายเพิ่มสมาชิก 500 ครัว เพิ่มสินค้า / เครื่องแกงใหม่ การพัฒนาองค์ประกอบ คน ตลาด ทุน ปัจจัยการผลทักษะ ความรู้ ประสบการณ์
การทำงานของสมาชิก วัยหนุ่มสาว - สูงอายุ รับฟังคำติชม สามัคคี ความรัก แรงจูงใจ
การตลาด ตลาดในท้องถิ่น (มีส่วนแบ่ง) ตลาดนอก ต้องเพิ่มสินค้า ศึกษาตลาด วางแผน ติดตามประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่าย บรรจุภัณฑ์
การลงทุน / ต้นทุนการผลิต เพิ่มปัจจัยการผลิต พัฒนากำลังการผลิต เพิ่มรายได้กลุ่ม ปริมาณผลผลิตภัณฑ์ รายได้สมาชิก / รายได้กลุ่ม
ปัจจัยการผลิต วัตถุดิบมีคุณภาพ
ทักษะ / ประสบการณ์ การบริหารจัดการกลุ่ม วางแผนการผลิต / ค้นหาตลาด การใช้ปัจจัยการผลิต การแบ่งปันผลประโยชน์ การพัฒนากลุ่มให้ยั่งยืน
การรับการสนับสนุน หน่วยงานองค์กร /เอกชน
จัดเวทีครั้งที่ 3 ( 18 พ.ค.52) ผู้ร่วมเวที 42 คน จัดเวทีครั้งที่ 3 ( 18 พ.ค.52) ผู้ร่วมเวที 42 คน ประเด็น การเรียนรู้สู่ลูกหลาน (การสืบทอด) การประชาสัมพันธ์
การเรียนรู้สู่ลูกหลาน การเรียนรู้สู่ลูกหลาน วัตถุประสงค์ ความยั่งยืนของกลุ่ม ฝึกการบริหารจัดการในคนรุ่นใหม่ ให้มีความมั่นคงในอาชีพ
สถานการณ์สืบทอด การเพิ่มของสมาชิก ความสนใจของคนรุ่นใหม่ สมาชิก อายุ 45 – 55 ปี การเพิ่มของสมาชิก ความสนใจของคนรุ่นใหม่ ขาดความรู้ ในการบริหาร/การตลาด
ปรับปรุงระเบียบข้อปฏิบัติเดิม จัดกิจกรรมเพิ่มเติมแก่คนรุ่นใหม่ แนวทางการสืบทอด สร้างความเชื่อมั่น สร้างคนรุ่นใหม่ ปรับปรุงระเบียบข้อปฏิบัติเดิม จัดกิจกรรมเพิ่มเติมแก่คนรุ่นใหม่ ศึกษาดูงานจากภายนอก
ต้องการให้คนทั่วไปรู้จัก/บริโภค ต้องการขยายตลาดเพิ่มขึ้น การประชาสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ ต้องการให้คนทั่วไปรู้จัก/บริโภค ต้องการขยายตลาดเพิ่มขึ้น เพื่อการเพิ่มช่องทางของธุรกิจ
การประชาสัมพันธ์ อดีต - ปัจจุบัน อดีต - ปัจจุบัน ทำเสร็จแล้วขาย บอกต่อจากปากสู่ปาก ผ่านวิทยุชุมชน ผ่านส่วนราชการ การศึกษาดูงาน มีเสื้อทีม
สร้างสโลแกน สติกเกอร์ อนาคต สร้างสโลแกน สติกเกอร์ ร่วมในงานเทศกาล ขายตรง แลกเปลี่ยนสินค้า เพิ่มผลิตภัณฑ์ เรียนรู้การตลาด จากหน่วยงาน/องค์กร