ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า ภูมิปัญญาไทย ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
เข้าใจและปฏิบัติตน ในการสืบทอด ภูมิปัญญาไทย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เข้าใจและปฏิบัติตน ในการสืบทอด ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญา 1.ภูมิปัญญา ชาวบ้าน 3.ภูมิปัญญาไทย 2.ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ความหมาย พื้นฐานของความรู้ สะสมสืบทอดกันมา ความรอบรู้ - เรียนรู้ - มีประสบการณ์
แบบแผนการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าแสดงถึง ความเฉลียวฉลาดของบุคคลและสังคม ภูมิปัญญา แบบแผนการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าแสดงถึง ความเฉลียวฉลาดของบุคคลและสังคม ซึ่งได้สั่งสมและปฏิบัติสืบต่อกันมา
- นำมาใช้แก้ปัญหา - เป็นสติปัญญา - เป็นองค์ความรู้คิด เองทำเอง
ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้ของชาวบ้าน - ประสบการณ์ - ความเฉลียวฉลาด - ความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ
ประยุกต์และเปลี่ยนแปลง สืบทอด ปรับ ประยุกต์และเปลี่ยนแปลง เกิดเป็นความรู้ใหม่
ลักษณะภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นรูปธรรม เป็นนามธรรม
รูปธรรม ภาษาและวรรณกรรม อาหาร อาชีพ การแพทย์แผนไทย การเกษตร ศิลปกรรม หัตถกรรม อุตสาหกรรม ดนตรี การละเล่น
1นิ้ว 1นิ้ว 1นิ้ว 2นิ้ว
ภูมิปัญญาไทย วิธีทำ……………………….... ประโยชน์หรือการนำมาใช้…... ชื่อ…………… ชั้น…… เลขที่….. ภูมิปัญญาไทย วิธีทำ……………………….... ประโยชน์หรือการนำมาใช้…... (มีต่อด้านหลัง)
วันพุธที่ 31 ม.ค. 50 กำหนดส่ง……………………....
โลก สิ่งแวดล้อม สัตว์ พืช นามธรรม มนุษย์ โลก สิ่งแวดล้อม สัตว์ พืช ธรรมชาติ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ (ความเชื่อ) มนุษย์
องค์ประกอบ 1. มีความจำเพาะกับท้องถิ่น 2. มีความเชื่อมโยงหรือบูรณาการ 3. มีความเคารพผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอด ไปสู่เด็ก แก่ผู้ใหญ่
การสืบสานภูมิปัญญา 1. การอนุรักษ์ 2. การพัฒนา 3. การฟื้นฟู
4. การประยุกต์ใช้ 5. การสร้างใหม่