การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี 2555-2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี 2555-2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน

บทนำ -การประเมินผล เป็นกระบวนการสำคัญในการวัดผลการทำงาน ที่บ่งบอกถึงการบรรลุหรือไม่บรรลุเป้าหมายที่กำหนด -ในอดีตสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน มีการประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดแต่ยังไม่มีระบบที่ชัดเจน การมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้องและการนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์น้อย -ปี 2555 มียุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 4 ยุทธศาสตร์ มีตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานจำนวน 15 ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบงานประเมินผลและทีมงาน จึงพัฒนาระบบประเมินผลตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ให้มีระบบที่เหมาะสม มีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง นำผลประเมินไปใช้ประโยชน์

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี 2555-2556

วิธีการพัฒนาระบบ 1.กระบวนการพัฒนาระบบ ได้แก่ 1.1.การเตรียมทีมประเมินผลระดับจังหวัด และ คปสอ.15 แห่ง ในการวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์องค์กร

1.2.การกำหนดประเด็นประเมินผล ให้ชัดเจน 1.3.การสร้างเครื่องมือประเมินผล จัดทำTemplate และ Milestone ตามตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ใช้เกณฑ์ตัดสิน 2 ลักษณะ ได้แก่ -ประเมินระดับความสำเร็จตาม Milestone 5 ขั้นตอน โดยเปรียบเทียบ 5 ขั้นตอนการทำงานจริง กับเกณฑ์ 5 ขั้นตอนที่กำหนดใน Template แต่ละตัวชี้วัด -คิดคะแนน จากการทำหลักฐาน 5 ขั้นตอน ใน Template กำหนด 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด

2.การดำเนินงานตามระบบ การดำเนินการประเมินผลตัวชี้วัด จำนวน 15 ตัว รอบ 6 เดือน 12 เดือน ในกลุ่มผู้บริหาร นักวิชาการและผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด คปสอ. 15 อำเภอ 150 คนโดยวิธีจัดเวทีนำเสนอผลการดำเนินงาน และ ทีมประเมินผลลงไปประเมินในพื้นที่

3.สรุปผลการประเมิน โดยการนำเสนอผลการพัฒนาระบบการประเมินผล ในที่ประชุมผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง นำผลการดำเนินงานทั้งหมด มาวิเคราะห์และสรุปเป็นเอกสารส่งให้อำเภอและกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง

ผลการพัฒนาระบบ ได้ระบบการประเมินผลตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน โดยการมีส่วนร่วมจากนักวิชาการที่รับผิดชอบตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน -ทีมประเมินผล (บุคลากร) -ประเด็นการประเมิน -การสร้างเครื่องมือประเมินผล -วิธีการประเมินผล -การสรุปผลการประเมิน -การนำไปใช้ประโยชน์

เปรียบเทียบก่อนการพัฒนาและหลังพัฒนาระบบประเมินผล ประเด็น ก่อนการพัฒนาระบบ(ปี 54) หลังพัฒนาระบบ(ปี55-56) บุคลากร ผู้รับผิดชอบงานฯกลุ่มยุทธศาสตร์เป็นผู้ประเมินผล 1-2 คน ทุกกลุ่มงานใน สสจ.น่าน เป็นทีมประเมินผล 21 คน ประเด็นการประเมินผล ประเมินภาพรวม คปสอ. ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์องค์กร เครื่องมือประเมินผล ออกแบบเครื่องมือตามภาพรวม Template และ Milestone ตัวชี้วัด กำหนดเกณฑ์ที่สามารถ จัดกลุ่มและเรียงลำดับ คปสอ.ได้ วิธีการประเมินผล สัมภาษณ์/สอบถามคณะทำงาน คปสอ.ดำเนินการ 1 ครั้ง ประเมินตามขั้นตอน คือ -การนำเสนอผลงานตามตัวชี้วัด -การสัมภาษณ์/สอบถามผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด -การลงสอบถามผู้ปฏิบัติงาน/ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ดำเนินการปีละ 2 ครั้ง

ก่อนการพัฒนาระบบ(ปี 54) ประเด็น ก่อนการพัฒนาระบบ(ปี 54) หลังพัฒนาระบบ(ปี55-56) การสรุปผลการประเมิน ไม่มีการสรุปการประเมินในที่ประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล มีการสรุปการประเมินในที่ประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล 2 ครั้ง/ปี การนำไปใช้ประโยชน์ นำไปใช้ประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์องค์กรในปีต่อไปในบางประเด็น 1.นำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนางานตามตัวชี้วัด ของแผนยุทธศาสตร์องค์กรปีต่อไป 2.ผู้บริหารนำผลประเมินไปใช้ประโยชน์ พิจารณาความดีความชอบ 3.การให้แรงจูงใจแก่ คปสอ.ที่มีผลการประเมินดีเด่น โดยสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนา 100,000 บาท

การนำไปใช้ประโยชน์ ก่อนนำไปใช้ประโยชน์ ได้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ดังนี้ การนำเสนอระบบการประเมินผลตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ในที่ประชุมผู้บริหารคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล ซึ่งมีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นประธาน มีผู้บริหารทุก คปสอ.ร่วมประชุม พบว่า มีการยอมรับว่าระบบดังกล่าวมีประโยชน์ สามารถจำแนกความสำเร็จของตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ แยกราย คปสอ.ได้ จัดกลุ่มและเรียงลำดับความสำเร็จของ คปสอ.ได้ โดยมีเกณฑ์ที่ยอมรับร่วมกัน

การสำรวจความพึงพอใจ ของระบบที่ดำเนินการ ในกลุ่มผู้บริหารคณะกรรมกาวางแผนและประเมินผล และ กลุ่มนักวิชาการที่ใช้ระบบดังกล่าว พบว่า พึงพอใจในระดับมาก โดยประเด็นสำคัญคือ มีระบบที่ชัดเจน มีมาตรฐานการวัดผล และ การนำไปใช้ประโยชน์

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน มีการนำผลประเมินไปใช้ประโยชน์เชิงบริหารและทางวิชาการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ มีการนำรูปแบบการประเมินผลไปประยุกต์ใช้ ประเมินผล รพสต.ในพื้นที่ เป็นแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด

สรุปผลการพัฒนาระบบ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน มีระบบประเมินผลตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่านที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม มีประโยชน์ต่อการทำงาน สามารถดำเนินการได้จริง สามารถจำแนกผลสำเร็จตัวชี้วัดทั้ง 15 ตัวในแผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน และ จัดลำดับ จัดกลุ่ม คปสอ.ตามผลการประเมินได้อย่างเหมาะสม ได้รับการยอมรับจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

กิตติกรรมประกาศ ขอบคุณ นพ.สสจ.น่าน ในการสนับสนุนการดำเนินงานประเมินผล และ นำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร ขอบคุณ รอง นพ.สสจ.น่าน ในการเป็นหัวหน้าทีมประเมินผลผล ลงดำเนินการในพื้นที่ หน.ฝ่ายพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.น่านในการให้คำปรึกษา การดำเนินงานประเมินผล ทีมประเมินผล สสจ.น่าน ในการดำเนินงานประเมินผลและทำงานเป็นทีม